Page 126 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 126

112




                 ตารางที่ 26.1 (ตอ) สภาพภูมิอากาศ และปริมาณน้ําฝนรายปของจังหวัดตางๆ ที่พบกลุมชุดดินที่ 26

                                                                              อุณหภูมิเฉลี่ย/ป  ความชื้นสัมพัทธ
                                                    ปริมาณน้ําฝน  การระเหยน้ํา
                        ภาค          จังหวัด                                  (องศาเซลเซียส)     เฉลี่ย/ป (%)
                                                      (มม./ป)     (มม./ป)
                                                                               ชวง    เฉลี่ย   ชวง   เฉลี่ย
                  ตะวันตก            ประจวบคีรีขันธ      900-1,500   1,590-1,640   24-32   28   75-87   76

                  ใต                สุราษฎรธานี   1,600-3,500  1,540-1,560  23-32     27     63-95    82
                                     ระนอง          2,000-4,000  1,500-1,540  23-32     28     63-93    81

                                     พังงา          2,000-4,000  1,500-1,540  23-33     27     67-96    84
                                     นครศรีธรรมราช  1,600-2,300  1,540-1,560  23-32     27     42-65    56

                                     ชุมพร          1,500-3,500  1,560-1,570  23-32     27     64-94    82
                                     กระบี่         2,000-2,100  1,500-1,540  24-32     28     67-89    79

                                     ภูเก็ต         2,000-2,100  1,500-1,540  24-32     28     63-91    79
                                     ตรัง           2,200-2,300  1,540-1,560  23-33     27     60-96    82
                                     นราธิวาส       1,600-2,300  1,560-1,570  24-32     27     67-94    82

                                     ปตตานี        1,500-1,600  1,560-1,570  23-32     27     61-95    81
                                     พัทลุง         2,000-3,000  1,540-1,560  24-33     28     53-90    74

                                     ยะลา           1,600-2,300  1,560-1,570  24-32     27     64-94    82
                                     สงขลา          1,600-2,300  1,560-1,570  23-32     27     63-94    81
                                     สตูล           2,100-2,300  1,540-1,560  24-33     28     60-91    79


                          1.2  วัตถุตนกําเนิดดิน  เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทาง

                  ใกลๆ โดยแรงโนมถวงของโลก ของหินดินดาน หินทราย หินอัคนีหรือหินปูนที่อยูรวมกันกับหินดินดาน หรือ

                  วัตถุตนกําเนิดดินอื่นๆ ที่มีสมบัติคลายหินดังกลาว ขางตน หรือเกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพัดพามา

                  ทับถมเปนเวลานาน (old alluvium)

                          1.3 ภูมิสัณฐาน  พื้นผิวเหลือคางจากการกรอน หรือ ตะพักลําน้ําระดับกลาง(middle terrace)


                          1.4 สภาพพื้นที่และความลาดชัน  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-20
                  เปอรเซ็นต


                          1.5 สภาพการระบายน้ําของดิน  ดีถึงปานกลาง


                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน  พืชไรตางๆ เชน แตงโม ถั่วลิสง สับปะรด ขาวโพดหวาน
                  มะละกอ ไมยืนตน เชน  สะตอ ยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ โกโก พริกไทยและไมผล เชน กลวย มะพราว

                  ทุเรียน เงาะ ฯลฯ สําหรับพื้นที่โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 26 แสดงไวในตาราง

                  ที่ 26.2
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131