Page 20 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปี ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 20

5

                                 1)  ฐานขอมูลเชิงพื้นที่  ( Spatial data ) ประกอบดวย

                                        -  แผนที่แสดงพื้นที่ปลูกขาวนาป  ปการผลิต 2549   ไดจากการวิเคราะหขอมูลจาก
                  ดาวเทียม Landsat - 5  ( TM )  โดยสํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน

                                         -  แผนที่การใชที่ดินระดับจังหวัด  สํารวจป 2543 - 2545  จากฐานขอมูล

                  กรมพัฒนาที่ดิน

                                        -  แผนที่เขตชลประทาน

                                        -  แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล
                                        -  แผนที่เสนทางคมนาคม

                                        -  พิกัดจุดตรวจสอบขอมูลตามแบบสอบถามที่ไดจากการสํารวจและรวบรวม

                  ภาคสนาม

                                 2)  ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ (Attribute data)   เปนการกําหนดคุณลักษณะของแผน

                  ที่นําเขาแตละประเภทขอมูล  จากนั้นสรางความสัมพันธระหวางฐานขอมูลทั้งสอง  เพื่อเตรียมความพรอมใน
                  การวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป

                          3.4.5   การหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล    เปนการหาคาผลผลิตเฉลี่ยของขาวนาป   โดย

                  รวบรวมขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของทุกจุดตรวจสอบ  ในแตละตําบล    แลวหาคาเฉลี่ย   จากนั้นจึงนําไป

                  คํานวณหาผลผลิตรวมของตําบลนั้นๆ   ในกรณีที่บางตําบลมีจํานวนจุดตรวจสอบนอย   ก็ทําไดโดยการรวม

                  กับตําบลอื่นๆ  ที่อยูใกลเคียงแลวหาคาเฉลี่ย   สําหรับบางตําบลที่ไมมีขอมูลจากจุดตรวจสอบ  ก็ใชคาเฉลี่ย
                  ของตําบลขางเคียง   หรือจากคาผลผลิตเฉลี่ยระดับอําเภอของกรมสงเสริมการเกษตร  ปการเพาะปลูก

                  2548/49

                         3.4.6  การวิเคราะหและประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร   เปนการ

                  วิเคราะหเพื่อหาพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมของขาวนาปเปนรายตําบล   จากฐานขอมูลที่ไดจากขอ 3.4.4
                  และขอ  3.4.5   โดยวิธีการซอนทับทางคณิตศาสตร ( Intersection )  ของแผนที่แสดงเขตการปกครอง

                  ระดับตําบล  ของแตละจังหวัด   ดวยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร  ผลที่ไดคือ  พื้นที่ปลูก  และผลผลิต

                  รวมของขาวนาปเปน รายตําบลของทั้ง  76  จังหวัด  จากนั้นจัดทําแผนที่แสดงรายละเอียด  เพื่อเผยแพร

                  ตอไป


                         3.5  พื้นที่ดําเนินงาน

                         ครอบคลุมพื้นที่ปลูกขาวนาปทั้ง  76  จังหวัดของประเทศ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25