Page 21 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรัง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 21

8



                         3.6  ระยะเวลาดําเนินการ


                         เริ่ม    เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ. 2548

                         สิ้นสุด   เดือนเมษายน  พ.ศ. 2549

                         รวมเวลาในการดําเนินการทั้งสิ้น  6  เดือน


                  4. ผลที่คาดวาจะไดรับ


                          1.  แผนที่ในระบบ Digital  ที่แสดงพื้นที่ปลูกขาวนาปรังและผลผลิต   เปนรายตําบล   รายอําเภอ

                  และรายจังหวัดของภาคกลาง  ภาคเหนือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และภาคตะวันออก  ปการผลิต  2549

                               2.  ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS  Database ) ดานการผลิตขาวนาปรัง ปการผลิต 2549



                  5.  ผลการดําเนินงาน



                         5.1  การกระจายพันธุขาวนาปรัง

                         ผลการสํารวจและรวบรวมขอมูล   จากการสุมตัวอยางในภาคสนามของเกษตรกร   จํานวน

                  7,891   ราย   จากภาคกลาง  4,227   ราย   หรือรอยละ  53.57   ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด
                  ภาคเหนือ 1,648  ราย  หรือรอยละ  20.88  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  1,788  ราย  หรือรอยละ  22.66

                  และภาคตะวันออก  228  ราย  หรือรอยละ  2.89  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด  ครอบคลุมเกือบ

                  ทุกพื้นที่ทุกตําบลที่มีการปลูกขาวนาปรัง  สามารถสรุปพันธุขาวที่เกษตรกรนิยมปลูกมากที่สุด  ไดดังนี้

                          1)  พันธุสุพรรณบุรี 1  เกษตรกรปลูกรอยละ  28.58  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด

                  โดยนิยมปลูกที่ภาคกลาง  และภาคเหนือ
                          2)  พันธุชัยนาท 1  เกษตรกรปลูกรอยละ  21.56  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด  นิยม

                  ปลูกมากที่ภาคกลาง  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และภาคเหนือ

                           3)  พันธุสุพรรณบุรี 35  เกษตรกรปลูกรอยละ  10.34  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด

                  เปนพันธุขาวเจาที่นิยมปลูกมากที่ภาคกลาง
                          4)  พันธุปทุมธานี 1  เกษตรกรปลูกรอยละ  7.83  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด

                  นิยมปลูกมากที่ภาคกลาง  และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                          5)  พันธุกข 10  เกษตรกรปลูกรอยละ  3.52  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด  นิยมปลูก

                  มากที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                          6)  พันธุพิษณุโลก 2  เกษตรกรปลูกรอยละ  2.51  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมดพบ

                  ปลูกมากที่ภาคเหนือ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26