Page 10 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรัง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 10

บทสรุปสําหรับผูบริหาร



                         สืบเนื่องจากปญหาเกี่ยวกับราคาผลผลิตตกต่ํา  และความขัดแยงในการใชทรัพยากรน้ําของ

                  ชาวนาในอดีต  เปนผลใหรัฐบาลตองเขามาแกไขปญหาทุกป  การแกไขปญหามีความยุงยาก  ทั้งนี้สวน

                  หนึ่งเกิดจากรัฐบาลขาดขอมูลการปลูกขาวนอกฤดูที่มีความถูกตอง   ทั้งดานพื้นที่เพาะปลูกและจํานวน
                  ผลผลิตรวม  กอนที่ผลผลิตจํานวนมากจะออกสูตลาด  เพื่อใหมีการวางแผนการผลิตการตลาดที่เหมาะสม

                  และเปนการลดปญหาดังกลาว   กรมพัฒนาที่ดินจึงไดใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบ

                  สารสนเทศภูมิศาสตร  ในการสํารวจและคาดการณพื้นที่ปลูกขาวนาปรัง  เพื่อประเมินผลผลิตซึ่งจะ

                  สามารถดําเนินการไดในเวลารวดเร็ว  และเสร็จทันกอนผลผลิตจะออกสูตลาด  การดําเนินการเริ่มขึ้นใน

                  เดือนธันวาคม พ.ศ.2548  และสิ้นสุดเดือนเมษายน พ.ศ.2549  แบงการทํางานออกเปน  3  ขั้นตอนดังนี้
                         1.  นําขอมูลจากดาวเทียม  Landsat - 5 ( TM )  ที่บันทึกในชวงเวลาเดียวกับฤดูปลูกขาวนาปรัง

                  ของเกษตรกรมาแสดงผลภาพ  เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาว  จํานวน  30  ภาพ ( Scenes )  ครอบคลุม

                  54  จังหวัด  ไดพื้นที่ปลูกขาวนาปรังทั้ง  4  ภูมิภาค ( ยกเวนภาคใต )  รวมทั้งสิ้น  9,169,800
                  ไร  โดยที่ภาคกลาง  มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุด  คือ  4,385,717  ไร  หรือรอยละ  47.83  ของพื้นที่

                  ปลูกทั้งหมด   รองลงมาคือ   ภาคเหนือ  3,694,560   ไร   หรือรอยละ  40.29   ภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ  647,557  ไร  หรือรอยละ  7.06  และภาคตะวันออก  441,966  ไร  หรือ
                  รอยละ  4.82   เมื่อเปรียบเทียบกับปการผลิต 2548  พบวามีพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นรอยละ  7.12

                  โดยมีสัดสวนเพิ่มขึ้นในพื้นที่ในเขตชลประทานมากกวานอกเขตชลประทาน
                         2.  สงทีมงานสํารวจจากสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 2  กรมพัฒนาที่ดิน  เพื่อรวบรวมชนิด

                  พันธุขาวและผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบลไดทั้งหมด  7,891  ตัวอยาง  โดยพันธุขาวที่เกษตรกรนิยมปลูก

                  มากที่สุด  ไดแก  พันธุสุพรรณบุรี 1  ชัยนาท 1  สุพรรณบุรี 35  ปทุมธานี 1  กข 10  และพันธุ

                  พิษณุโลก 2   แลวนําขอมูลจากแบบสอบถามมาคํานวณทางสถิติ   เพื่อหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนราย
                  ตําบล  ผลการวิเคราะหไดผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ  775  กก./ไร  โดยภาคกลางมีผลผลิตเฉลี่ย

                  สูงสุด  815  กก./ไร

                         3.  ใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรวิเคราะหและประมวลผล  จากขอมูลที่ไดจากขอ 1  และขอ 2

                  ไดผลผลิตรวมทั้งประเทศทั้งสิ้น  7,106,396   ตัน   ภาคกลางไดผลผลิตรวมมากที่สุด   คือ

                  3,572,620  ตัน  หรือรอยละ  50.27  ของผลผลิตทั้งหมด  รองลงมาคือ  ภาคเหนือ  2,771,477  ตัน
                  หรือรอยละ  39.00  ของผลผลิตทั้งหมด  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  425,253  ตัน  หรือรอยละ  5.99  ของ

                  ผลผลิตทั้งหมด  และภาคตะวันออก  337,046  ตัน  หรือรอยละ  4.74  ของผลผลิตทั้งหมด
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15