Page 48 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 48

35


             ตารางที่ 3.7  ผลของการคลุมดินและวัสดุปรับปรุงดินตอความชื้นในดินและการเจริญเติบโตของ

                            หนอไมฝรั่งตอจํานวนหนอและผลผลิตของหนอไมฝรั่ง จ.ปราจีนบุรี


                                          ผลผลิตรวม (กก./ไร)                 จํานวนหนอรวม (หนอ/ไร)
               ตํารับการทดลอง
                                  ไมคลุมดิน    ค  ล  ุมดิน  เ  ฉ  ล  ี่ย  ไ  ม  คลุมดิน  ค  ล  ุมดิน  เ  ฉ  ล  ี่ย
               ปุยหมัก            255.37       321.24       288.31      54,132.3    60,266.7     57,199.5

               แกลบ                304.23       382.01       343.12      57,332.3    61,866.7     59,599.5
               ขี้เถาแกลบ         261.06       365.59       313.32      46,785.0    59,674.3     53,229.7

                    เฉลี่ย         273.55       356.28       314.92     52,749.86    60,602.56    56,676.23



                            *  ที่มาประสิทธิ์และคณะ 2546


                            3.2.2 ยิปซั่ม (Gypsum : CaSO -2H O) การนํายิปซั่มเขามาใชในการปรับปรุงคุณสมบัติของ
                                                        4
                                                            2
             ดินเค็มจุดประสงคก็เพื่อลางความเปนพิษของเกลือโซเดียมออกจากดินและเปนการเพิ่มธาตุอาหารประเภท
             แคลเซียมเสริมใหแกดิน โดยจะเปลี่ยนจากเกลือคลอไรดของโซเดียม (NaCl) อยูในรูปเกลือซัลเฟตของโซเดียม

             (Na SO ) ซึ่งจะเปนพิษตอพืชนอยลงละลายน้ําไดดีขึ้น ทําใหสามารถชะลางออกไปจากดินไดงายขึ้น ดังสมการ
                 2
                    4
                            2NaX + CaSO  4               CaX2 + Na SO  4
                                                                   2
                                   (X = อนุมูลของเกลือโซเดียม)


                            ในกรณีที่เปนดินเค็มโซดิก   การชะลางเกลือออกไปจากดินเค็มโซดิกมักพบกับปญหาในการ

             ระบายน้ําของดินโซเดียมเปนพิษตอพืชและจะมีผลตอสมบัติทางกายภาพของดิน  กลาวคือในการระบายน้ําใน

             ครั้งแรกจะทํางายเพราะในขณะที่ดินยังมีเกลือที่ละลายไดอยูมากขึ้น  อนุภาคดินยังคงเกาะตัวกันดี  แตเมื่อทํา
             การชะลางตอไประยะหนึ่งก็จะทําใหการระบายเกลือออกไปไดยากเพราะเกลือที่ละลายไดพวกที่มีประจุบวก

             สอง (divalent cation) เชน แคลเซียมและแมกนีเซียม ถูกชะลางไปงายกวาโซเดียม หลังจากมีการลางดิน 2-3

             ครั้งปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมในดินจะลดลง  แตปริมาณโซเดียมยังคงอยูสูง  ทําใหอัตราสวนระหวาง

             โซเดียมตอแคลเซียมและแมกนีเซียมเพิ่มขึ้น จึงทําใหอนุภาคดินแตกตัวฟุงกระจาย การซาบซึมน้ําของดินลดลง

             ซึ่งเปนอุปสรรคในการที่จะลางดินครั้งตอไป (USSL, 1954)  ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองใสสารปรับปรุงดิน
             ลงไปเพื่อไปแทนที่โซเดียมที่ดินดูดจะไดไวและเพิ่มความสามารถของดินในการใหน้ําซึมผาน  สารปรับปรุงดินที่

                                 =
             ใช เชน ยิบซั่ม (CaSO ) แคลเซียมคลอไรดและกรดกํามะถัน สารพวกแคลเซียมที่ใสลงไปในดินนั้นนอกจากจะ
                                4
             แทนที่โซเดียมที่ดินถูกยึดไวยังทําใหคุณสมบัติของดินดีขึ้น   เชนทําใหเม็ดดินเกาะตัวกันมีความคงทนมากขึ้น

             การระบายน้ําและการถายเทอากาศดีขึ้น เปนตน

                            ดังนั้นความตองการยิปซั่มของดินจะไมเทากันในแตละพื้นที่ จะแตกตางกันไปตามลักษณะของ
             ดิน  จึงตองมีการสุมเก็บตัวอยางของดินเพื่อนํามาวิเคราะหหาธาตุอาหารตางๆ  ที่เกี่ยวของที่จะนํามาใชในการ

             คํานวณหาความตองการยิปซั่มของดินได  โดยคาความตองการของยิปซั่มของดิน (Gypsum  requirement,

             มิลลิกรัมสมมูลย) สามารถคํานวณไดจากสูตร ดังนี้
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53