Page 73 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 73

การใหชื่อชั้นดินจะใชสัญลักษณ 3 ตัวคือ

                         1. อักษรตัวพิมพใหญ คือ O  A  B  C  และ  R  จะใชแทนชั้นดินหลัก (Master horizons and

                  layers)


                         2. อักษรตัวพิมพเล็ก ไดแก a  c  g  p  v ….. ใชเติมตอทายอักษรตัวใหญ ที่แสดงถึงลักษณะ

                  พิเศษของชั้นดินหลัก  ตัวอยางเชน Ap หรือ Bg เปนตน

                         3. ตัวเลขอราบิค  ไดแก 1  2  3 ….. ใชทั้งเติมขางหนาหรือตอทายชั้นดิน โดย

                            - ถาตอทาย จะใชในการแบงชั้นดินนั้นๆ ออกเปนชั้นดินยอย เชน แบงชั้นดิน Ap ออกเปน
                  Ap1  Ap2

                            - ถาเติมขางหนา แสดงวาชั้นดินนั้นๆ ไมสัมพันธกับชั้นดินที่มีตัวเลขตางกัน เชน Ap-Bt-2C



                  3. ชั้นดินหลัก (Master Horizons and Layers)

                         O horizons หรือ layers: เปนชั้นที่มีอินทรียสารอยูมาก

                         A horizons: เปนชั้นดินแร อาจเกิดที่ผิวดินหรือใตชั้น O และไมมีชิ้นสวนของหินหรือมีนอยมาก

                  และจะตองมีลักษณะที่แสดงถึง

                            1.  มีการสะสมของฮิวมัสโดยคลุกเคลากับอนุภาคตางๆ  ของดินแร  และไมมีลักษณะของชั้น

                  ดิน E หรือ B เดนชัด
                            2. มีสมบัติที่เปนผลมาจากการเพาะปลูก หรือการทําทุงหญาเลี้ยงสัตว


                         E horizons: เปนชั้นดินแรที่มีการสูญเสียของซิลิกา ดินเหนียว เหล็ก อะลูมินัม หรืออินทรียวัตถุ

                  โดยมีอนุภาคทราย และทรายแปงหลงเหลืออยู ชั้นดินนี้ตองไมมีชิ้นสวนของหินหรือมีอยูนอยมาก

                         B horizons: เปนชั้นดินที่อยูใตชั้น A E หรือชั้น O ไมมีชิ้นสวนของหินหรือมีนอยมาก และตองมี

                  ลักษณะอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางที่แสดงถึง

                            1. การสะสมของอนุภาคดินเหนียว เหล็ก อะลูมินัม ฮิวมัส คารบอเนต ยิปซัม หรือซิลิกา

                            2. มีการสูญเสียของคารบอเนต
                            3. มีการสะสมของเหล็ก-อะลูมินัมออกไซด หรือ เซสควิออกไซด (sesquioxides)

                            4. มีการเคลือบของเซสควิออกไซด (sesquioxides)  ซึ่งทําใหดินในชั้นนี้มีคาสี (value)  ต่ํา

                  กวา มีคารงค (chroma) สูงกวา และสีสัน (hue) แดงกวาชั้นดินที่อยูขางบนและขางลาง

                            5. มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในดินไดแก  การเกิดแรดินเหนียวซิลิเกต (silicate clay)  การ
                  ปลดปลอยออกไซด  การเกิดโครงสรางแบบกอนกลม (granular blocky)   กอนเหลี่ยม (blocky)  หรือ

                  แทงหัวเหลี่ยม (prismatic)

                            6. มีความเปราะ

                            7. มีสภาพขังน้ํา และเกิดการสูญเสียออกซิเจนอยางรุนแรงจนเกิดสีเทา

                                                                                                           65
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78