Page 3 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 3

บทคัดยอ


                                การศึกษาภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใชที่ดินในพื้นที่ลุม

                     น้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง  ซึ่งเปนลุมน้ําที่ขาดการจัดการทรัพยากรที่ถูกตอง  จึงเปนสาเหตุกอใหเกิดผล
                     กระทบตอสภาพแวดลอมและระบบนิเวศน ประกอบดวยพื้นที่ทั้งหมด 7,010,875 ไร ดังนั้นจึงไดทํา

                     การศึกษาลักษณะทั่วไปของชุมชน  ขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจและสังคมและตนทุนผลตอบแทน

                     การผลิตดังนี้

                                หัวหนาครัวเรือนมีอายุเฉลี่ย 46.08  ป  ประชากรสวนใหญรอยละ 99.72  นับถือศาสนา

                     พุทธ  จบการศึกษาระดับประถมศึกษามากที่สุดรอยละ 87.60  มีจํานวนสมาชิกเฉลี่ยครัวเรือนละ

                     4.13  คน  ลักษณะการถือครองที่ดินของครัวเรือนเกษตรจะมีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ยครัวเรือนละ 35.30  ไร

                     เกษตรกรใชเนื้อที่ถือครองสวนใหญในการปลูกขาวทั้งขาวนาปและขาวนาปรัง  นอกจากเกษตรกรใช
                     เนื้อที่เพื่อการปลูกขาวแลว ยังมีพืชเศรษฐกิจที่สําคัญอีกหลายชนิดที่ปลูก ไดแก พืชไรชนิดตางๆ และไม

                     ผล/ไมยืนตน ครัวเรือนเกษตรมีรายไดทั้งหมดเฉลี่ยครัวเรือนละ 175,127.44 บาท เปนรายไดจากพืช

                     เฉลี่ยรอยละ 83.73  ของรายไดทั้งหมด  มีรายจายทั้งหมดเฉลี่ยครัวเรือนละ 139,079.22 บาท  สวนใหญ

                     ของรายจายจะเปนคาใชจายในการผลิตพืชถึงรอยละ 69.13  ของรายจายทั้งหมด  ดังนั้นครัวเรือน

                     เกษตรกรจะมีเงินออมเฉลี่ยครัวเรือนละ 36,048.52 บาท  จากจํานวนหนวยที่ดินทั้งหมด 28 หนวยที่ดิน
                     มีการใชประโยชนที่ดินจากการทํานาถึง 18 หนวยที่ดิน บางหนวยที่ดินมีการทํานาเพียง 1 ครั้ง หรือ 2

                     ครั้ง หรือบางหนวยที่ดินทํานาไดถึง 3 ครั้ง คือ ขาวเจานาปตามดวยขาวเจานาปรังครั้งที่ 1 และครั้งที่

                     2 และยังมีการทํานาแลวตามดวยการปลูกพืชไร เชน ถั่วเหลือง ถั่วเขียวผิวมันและยาสูบ เปนตน ผลตอบแทน

                     สุทธิที่ไดจากระบบของการปลูกขาวแลวตามดวยการปลูกพืชไร  สวนใหญจะเปนผลกําไร  โดยเฉพาะ
                     พืชครั้งที่ 2  หลังจากทํานาแลวไดแกการปลูกยาสูบในพื้นที่เดียวกัน  โดยเฉพาะในหนวยที่ดินที่ 4I
                                                                                                          1
                     ใหผลตอบแทนดีกวาหนวยที่ดินอื่นๆ คือ ไดผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ 10,580.27 บาท  สําหรับ

                     การทํานาเพียงครั้งเดียวในรอบปการผลิต   หนวยที่ดินที่ 4I   ไดรับผลตอบแทนมากที่สุด  เฉลี่ยไรละ
                                                                         3
                     1,347.85 บาท สวนการผลิตพืชไรชนิดอื่นๆ เชน ออยโรงงาน หนวยที่ดินที่ 15M   จะใหผลตอบแทน
                                                                                         6
                     เปนผลกําไรมากที่สุด เฉลี่ยไรละ 1,207.97 บาท มันสําปะหลังมีการปลูกในหนวยที่ดินที่ 33.2 และ 44

                     ใหผลเปนกําไรทั้ง 2 หนวยที่ดิน เหลานี้เปนตน สวนการปลูกไมผล/ไมยืนตน  อาทิเชน สมโอ สมเขียวหวาน

                     มะมวง กลวย ปรากฏวาสมเขียวหวานจะใหผลตอบแทนมากที่สุด สวนปญหาในการผลิตของเกษตรกร

                     สวนใหญจะมีปญหาจากราคาผลผลิตตกต่ํา  ศัตรูพืชรบกวน  ปญหาจากปจจัยการผลิตมีราคาสูง

                                ดังนั้นควรสงเสริมใหเกษตรกรไดรับการอบรมวิชาชีพทางดานการเกษตรทั้งดานการผลิต

                     และการแปรรูป  ตลอดจนสงเสริมสนับสนุนใหมีการใชปุยอินทรียพรอมทั้งใหมีการแลกเปลี่ยนแรงงาน

                     ภายในชุมชนเพื่อเปนการลดตนทุนการผลิตและเพื่อความปลอดภัยตอผูบริโภค
   1   2   3   4   5   6   7   8