Page 19 - รายงานวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินจากภาพถ่ายทางอากาศ : กรณีกลุ่มนายทุนออกเอกสารสิทธิ์(โฉนดที่ดิน)ทับที่ดินริมคลองตะเกียบ บริเวณด้านทิศตะวันตกของเขาตะเกียบ หมู่บ้านเขาตะเกียบ ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 19

11







                               1.4) ประสิทธิภาพของการวิเคราะหอานแปลภาพถายทางอากาศขึ้นอยูกับการฝกฝนความรู

                     ประสบการณของผูแปล คุณลักษณะของรายละเอียดที่จะแปล คุณภาพของเครื่องมือและภาพถายฯ ที่ใช

                     ฉะนั้นผูแปลภาพที่ดีตองมีความชํานิชํานาญ ละเอียดถี่ถวน รอบคอบ ใจเย็นและอดทนมาก ๆ

                             2) การวิเคราะหขอมูล
                               2.1) การปฏิบัติงานในสํานักงาน

                                   การวิเคราะหอานแปลภาพถายทางอากาศ ขนาด 9 นิ้ว x 9 นิ้ว มาตราสวน 1: 36,000;

                     1: 48,000; 1: 15,000; 1: 40,000; 1: 15,000 และ 1: 50,000 ตามลําดับ ตั้งแต ป พ.ศ. 2497, 2510, 2519,
                     2534, 2537 และ 2541 ตามลําดับ โดยใชกลองมองภาพสามมิติพิจารณาถึงความแตกตางของสี เงา

                     ความหยาบละเอียด รูปแบบการใชที่ดิน รูปราง ขนาดและที่ตั้ง ตลอดจนความสัมพันธกับรายละเอียด

                     ขางเคียงที่ปรากฏอยูบนภาพถายฯ พรอมทั้งพิจารณาแผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ดินและขอมูลอื่น ๆ
                     บริเวณพื้นที่ศึกษา รายละเอียดที่ไดจากการอานแปลภาพไดแก สิ่งปลูกสราง (U2) รีสอรท (U6) ไมยืนตน

                     (A3) ปาชายเลน (F1) แหลงน้ําธรรมชาติ (W1) แหลงน้ําที่สรางขึ้น (W2) ทุงหญาธรรมชาติ (M1) พื้น

                     ที่ลุม (M2) และพื้นที่ถมดิน (M4) ลงขอบเขตและสัญลักษณการใชประโยชนที่ดินจากที่มองเห็นในภาพ
                     ถายฯ 9 นิ้ว x 9 นิ้ว  ลงบนภาพปรับแก มาตราสวน 1: 4,000 (ที่ไดลงตําแหนงโฉนดที่ดินไวแลว)

                               2.2) การตรวจสอบในพื้นที่จริง

                                         การสํารวจขอมูลภาคสนาม โดยการนําตนรางแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดินตั้ง

                     แต ป พ.ศ. 2497-2541 มาตราสวน 1: 4,000 เพื่อตรวจสอบตําแหนงโฉนดที่ดินทั้ง 14 แปลง และการ
                     ใชประโยชนที่ดินที่ไดอานแปลไวแลว แกไขรายละเอียดและลงสัญลักษณการใชประโยชนที่ดินใหถูก

                     ตองตาม ป พ.ศ. ของภาพถายฯ นั้น ๆ เก็บขอมูลรายละเอียดอื่น ๆ พรอมถายรูปสภาพพื้นที่ของโฉนด ที่

                     ดินทั้ง 14 แปลง รวมทั้งคลองตะเกียบในปจจุบัน (เดือนสิงหาคม 2545) เพื่อใชประกอบในรายงาน
                               2.3) จัดทําแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดินฉบับสมบูรณ

                                   คัดลอกขอบเขตและสัญลักษณการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ จากตนรางแผนที่

                     จําแนกการใชประโยชนที่ดินในภาพถายฯ ป พ.ศ. 2497-2541 ที่ไดแกไขไวแลวลงบนกระดาษเขียน

                     แผนที่ (Drafting film) เปนแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ. 2497, 2510, 2519, 2534, 2537
                     และ 2541 ฉบับสมบูรณ มาตราสวน 1: 4,000 รวม 6 ชวงป

                               2.4) จัดทําแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดินของโฉนดที่ดินทั้ง 14 แปลง

                                   นําแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ. 2497-2541 ทําการซอนทับแผนที่การ
                     ครอบครองที่ดิน (โฉนดที่ดิน) ทั้ง 14 แปลง จะไดแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ. 2497, 2510,

                     2519, 2534, 2537 และ 2541 ของโฉนดที่ดินทั้ง 14 แปลง มาตราสวน 1: 4,000 พรอมคํานวณเนื้อที่

                               2.5) วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของโฉนดที่ดินทั้ง 14 แปลง

                                      นําแผนที่จําแนกการใชประโยชนที่ดิน พ.ศ. 2497-2541 ทําการซอนทับของแตละชวงป
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24