Page 249 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2548
P. 249

ง - 16


                         11. ปญหาและขอจํากัดในการใชขอมูล


                         1.  ไมมีการตรวจสอบภาคสนามชวงกอนการเก็บเกี่ยว   จึงอาจมีบางพื้นที่ไดรับความเสียหายจาก
                  หลายสาเหตุ    ซึ่งมีผลทําใหการวิเคราะหพื้นที่ปลูกคลาดเคลื่อน   และมีผลกระทบตอผลผลิตโดยรวมแต

                  ละจังหวัดและทั้งประเทศได

                         2.  ชวงเวลาตรวจสอบในภาคสนามบางพื้นที่ไมสอดคลองกับฤดูกาลผลิต ( ฤดูปลูก - เก็บเกี่ยว ) ทําให

                  ขาดขอมูลจากเกษตรกรในพื้นที่   เพราะตามหาเกษตรกรไมพบ
                         3.  ผลผลิตเฉลี่ยตอไร  และราคาที่เกษตรกรขายไดเปนขอมูลของปที่ผานมา   เมื่อนํามาทําการ

                  ประเมินผลผลิตและมูลคาที่เกษตรไดรับในปปจจุบันอาจทําใหคลาดเคลื่อนได

                         4.   บางพื้นที่จํานวนจุดตรวจสอบคอนขางนอย    และการกระจายไมครอบคลุมทุกตําบล    ตองใช

                  คาผลผลิตเฉลี่ยจากตําบลขางเคียงหรือแหลงขอมูลอื่นๆ
                         5.  เนื่องจากปญหาเมฆปกคลุมบางพื้นที่   จําเปนตองใชขอมูลจากดาวเทียมในปที่ผานมาเปน

                  ขอมูลในการตรวจสอบภาคสนาม    อาจทําใหพื้นที่ปลูกในปจจุบันคลาดเคลื่อนไปในบางจังหวัด    เชน

                  จังหวัดนครราชสีมา  ชลบุรี  ระยอง  และสระแกว  เปนตน
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254