Page 288 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 288

ผ-9








                       เปนกลุมยอย โดยใชสภาพทางภูมิศาสตร (Geographic  subdivision)  เปนหลัก จะเรียกวา Area
                       sampling

                              3.1.2 วิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified random sampling) เปนการสุมตัวอยาง

                       ประชากรแบบจัดประชากรเปนพวกหรือชั้น (Stratum) โดยยึดหลักใหพวกของประชากรมีลักษณะ
                       ภายในคลายกันหรือเปนเอกพันธ (Homogeneous) มากที่สุด แตจะแตกตางกันระหวางชั้นมากที่สุด

                       จากนั้นจึงทําการสุมจากแตละชั้นมาทําการศึกษา โดยใชสัดสวนของกลุมตัวอยางประชากรที่สุม

                       ขึ้นมาเทากันหรือไมเทากันก็ไดขึ้นอยูกับความเหมาะสม

                              3.1.3 วิธีสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling)  เปนการสุมตัวอยาง
                       ประชากรโดยแบงประชากรออกเปนลําดับชั้นตางๆ แบบลดหลั่น เชน ภาค จังหวัด อําเภอ ตําบล

                       หมูบาน เปนตน โดยทําการสุมประชากรจากหนวยลําดับชั้นที่ใหญกอน แลวทําการสุมหนวยที่มี

                       ลําดับรองลงไปทีละขั้นจนถึงกลุมตัวอยางที่ตองการ


                              3.2 ขนาดของกลุมตัวอยาง



                              การหาขนาดของกลุมตัวอยางเปนการกําหนดจํานวนตัวอยางที่จะตองเก็บมาวิเคราะห

                       เพื่อใหไดคาตัวแทนประชากร การกําหนดจํานวนตัวอยางที่เหมาะสม จะทําใหสามารถวางแผนการ
                       ดําเนินงานไดอยางเหมาะสมและประหยัดคาใชจาย  โดยผลที่ไดจะมีความนาเชื่อถือและยอมรับได

                       ตามหลักสถิติ วิธีการหาขนาดของกลุมตัวอยางที่นิยมมี 2 วิธีดวยกันคือ

                              1) ใชสูตรคํานวณหาขนาดของกลุมตัวอยาง

                                                           2
                                                         NZ σ 2
                                                   n =  NE +Z σ 2
                                                          2
                                                             2
                        n    =  ขนาดของกลุมตัวอยาง                          Z= คาที่กําหนดจากความเชื่อมั่น
                        N   =  ขนาดของประชากร                                       ความเชื่อมั่น   คา Z

                        σ  =  คาความแปรปรวนของตัวแปรหลักที่ตองการศึกษา               90%      1.65
                          2
                        E   =  คาความคลาดเคลื่อนที่จะยอมเสี่ยงในการสรุปผล             95%      1.96

                                                                                       99%      2.58

                              2) หาโดยใชตารางสําเร็จรูป

                                     ตารางขนาดของกลุมตัวอยางสําหรับศึกษาคาเฉลี่ยของประชากร (µ) ที่ระดับความ

                       เชื่อมั่น 99  95 และ 90 เปอรเซ็นต เมื่อยอมใหความคลาดเคลื่อน (E) เกิดขึ้นในระดับ ± 5%  ± 10%

                       และ ± 15% ของคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293