Page 90 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 90

3-29








                       ปานกลาง และปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง ประมาณ
                       6.0-7.0


                              กลุมชุดดินที่ 61



                              กลุมดินนี้เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดซึ่งเกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตนกําเนิด
                       ชนิดตาง ๆ แลวถูกพัดพามาทับทมบริเวณที่ลาดเชิงเขา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน

                       ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําดีถึงปานกลาง มีลักษณะและสมบัติตาง ๆ เชน เนื้อดิน สีดิน ความลึก

                       ของดิน ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอน ซึ่งขึ้นอยูกับชนิด

                       ของวัตถุตนกําเนิดดินในบริเวณนั้นๆ สวนใหญมักมีเศษหิน กอนหินและหินพื้นโผลกระจัดกระจาย
                       ทั่วไป


                              กลุมชุดดินที่ 62



                              กลุมดินนี้ประกอบดวยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกวารอยละ 35 ลักษณะ
                       และสมบัติของดินที่พบไมแนนอน มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ

                       ตามธรรมชาติแตกตางกันไปแลวแตชนิดของหินตนกําเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน กอนหิน

                       หรือพื้นโผลกระจัดกระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุมดวยปาไมประเภทตาง ๆ เชน ปาเบญจพรรณ

                       ปาเต็งรังหรือปาดงดิบชื้น หลายแหงมีการทําไรเลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษดิน
                       และน้ํา ซึ่งเปนผลทําใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน จนบางแหงเหลือแตหินโผล ซึ่งลักษณะ

                       และสมบัติของดินที่ใชในการประเมินคุณภาพที่ดินแสดงในตารางที่ 3-2


                       3.3 การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน


                              จากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับเงาะแยกตามกลุมชุดดินซึ่งพบมาก

                       ทางภาคตะวันออก และภาคใต โดยยังไมพิจารณาปริมาณน้ําฝนซึ่งกลุมชุดดินที่มีความเหมาะสมสูง

                       ไดแก 8  26   26C     28b  32   32C   33   33C   38   และ38C   กลุมชุดดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                       ไดแก  8mx   26D   27   27C   27D   28   28C   28D   29   29C   29D   30   30B   30C   30D   31
                       31C   31D  34   34C   34D   35   35C   35D   36   36C   36D   36gm   38D  39  39C  39D  40   40C

                       40sa  60   60C   และ60D ไดผลการศึกษาดังตารางที่3-3 และระดับความเหมาะสมของปริมาณ

                       น้ําฝนเฉลี่ยรายปในรอบ 33  ปที่นํามาใชประกอบในการประเมินคุณภาพที่ดินของพืชเศรษฐกิจเงาะ
                       ตั้งแตปพ.ศ. 2514 – 2546 แสดงในรูปที่ 3-1






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95