Page 83 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 83

3-22








                       กลุมชุดดินที่ 43


                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก หรือบริเวณชายฝงทะเล
               เกิดจากตะกอนทรายชายทะเล หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพัง

               แลวถูกเคลื่อนยายมาทับถม ของพวกวัสดุเนื้อหยาบ มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบหรือเปนลูกคลื่น

               ลอนลาด พบบริเวณหาดทราย สันทรายชายทะเล หรือบริเวณที่ลาดเชิงเขา เปนดินลึก มีการระบายน้ํา

               คอนขางมากเกินไป เนื้อดินเปนพวกดินทราย ดินมีสีเทา สีน้ําตาลออน หรือเหลือง ดินมีความอุดมสมบูรณ
               ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง

               ประมาณ 4.5-6.0 ถาพบบริเวณสันทรายชายทะเลจะมีเปลือกหอยปะปนอยูในเนื้อดิน ปฏิกิริยาดิน

               เปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.5-8.0
                       ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก  เนื้อดินเปนทรายจัด ทําใหมีความสามารถ

               ในการอุมน้ําไดนอย พืชจะแสดงอาการขาดน้ําอยูเสมอ  นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณต่ํามาก


                       กลุมชุดดินที่ 44



                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพัง
               อยูกับที่ของพวกวัสดุเนื้อหยาบ พบบริเวณพื้นที่ดอน  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึง

               เปนเนินเขา เปนดินลึก มีการระบายน้ําดีมากเกินไป เนื้อดินเปนพวกดินทราย สีดินเปนสีเทา

               หรือสีน้ําตาลออน และในดินลาง ที่ลึกมากกวา 150 เซนติเมตร อาจพบเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย
               หรือดินรวนเหนียวปนทราย บางบริเวณอาจพบจุดประสีตาง ๆ ในดินชั้นลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ

               ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินโดยมากจะเปนกรดจัดถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง

               ประมาณ 5.5-7.0

                       ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก  เนื้อดินเปนทรายจัดและหนามาก พืชมีโอกาส
               ขาดน้ําไดงาย ดินมีความอุดมสมบูรณต่ําและโครงสรางไมดี บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหา

               เกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดิน


                       กลุมชุดดินที่ 45


                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดิน

               พวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยาย

               มาทับถม ของวัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอน  พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่

               เปนลูกคลื่นจนถึงเนินเขา เปนกลุมดินรวนหรือดินเหนียวที่มีลูกรัง เศษหิน หรือกอนกรวดปะปนมาก





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88