Page 77 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 77

3-26








                                กลุมชุดดินที่ 51
                                     เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการ

                       สลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนัก

                       ของวัสดุเนื้อคอนขางหยาบหรือคอนขางละเอียด ที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณ
                       พื้นที่ดอนที่เปนเนินเขาหรือบริเวณที่ลาดเชิงเขา เปนดินตื้นหรือตื้นมาก มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวก

                       ดินรวนปนเศษหิน เศษหินสวนใหญเปนพวกเศษหินทราย ควอรตไซต หรือหินดินดาน และพบชั้นหินพื้น

                       ภายในความลึก 50  เซนติเมตร  สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ
                       ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5

                                     ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อดิน

                       เปนปริมาณมาก และมีชั้นหินพื้นอยูตื้นดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง

                       จะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย

                                กลุมชุดดินที่ 52
                                     เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากตะกอนลําน้ําทับอยูบนชั้นปูนมารล พบบริเวณที่ลาดเชิงเขา

                       หินปูน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เปนดินตื้นถึงตื้นมาก

                       ถึงชั้นปูนมารล มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว ดินรวนเหนียว หรือดินรวนเหนียว
                       ปนทรายแปง ที่มีกอนปูนหรือปูนมารลปะปนอยูมาก สีดินเปนสีดํา สีน้ําตาลหรือสีแดง มีความ

                       อุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง มีคาความเปนกรด

                       เปนดางประมาณ 7.0-8.5
                                     ปญหาในการใชประโยชนที่ดินจะมีนอย แตถาพบชั้นปูนมารลตื้นกวา 25  เซนติเมตร

                       จะมีปญหาเรื่องการไถพรวน

                                กลุมชุดดินที่ 53
                                     เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการ

                       สลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนัก

                       ของวัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอน หรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                       ถึงเปนเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี เนื้อดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว
                       ทับอยูบนดินเหนียว สวนดินลางในระดับความลึกระหวาง 50-100 เซนติเมตร เปนดินเหนียวปนลูกรัง

                       หรือดินปนเศษหินผุ สีดินเปนสีน้ําตาลออน สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ

                       ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5
                                     ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณพื้นที่

                       ที่มีความลาดชันสูง จะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82