Page 70 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 70

3-19








                                กลุมชุดดินที่ 32
                                     เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการทับถม

                       ของตะกอนลําน้ําบริเวณสันดินริมน้ํา มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด

                       เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวน ละเอียดหรือดินทรายแปง
                       บางแหงอาจมีชั้นดินทรายละเอียดสลับชั้นอยู และมักมีแรไมกาปะปนในเนื้อดิน  สีดินเปนสีน้ําตาล

                       หรือสีเหลืองปนน้ําตาล และอาจจะพบจุดประสีพวกสีเหลืองหรือสีเทา ในดินชั้นลาง ดินมีความ

                       อุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงคอนขางต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด
                       มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5

                                     ไมคอยมีปญหาในเรื่องสมบัติของดิน แตอาจมีปญหาเรื่องน้ําทวม สรางความเสียหาย

                       ใหแกพืชที่ปลูก หากน้ําในลําน้ํามีปริมาณมากจนไหลเออทวมตลิ่ง และแชขังอยูเปนเวลานาน

                                กลุมชุดดินที่ 33
                                     เปนกลุมชุดดินที่มีวัตถุตนกําเนิดดินเปนพวกตะกอนลําน้ํา พบบนสันดินริมน้ําเกา

                       เนินตะกอนรูปพัด หรือที่ราบตะกอนน้ําพา พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ

                       ถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก การระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินทรายแปง

                       หรือดินรวนละเอียดสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดง บางแหงในดินลางลึกๆ  มีจุดประสีเทาและสีน้ําตาล
                       อาจมีแรไมกาหรือกอนปูนปะปนอยูดวย มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ดินชั้นบน

                       มักมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-6.5 สวนชั้นดินลาง

                       ถามีกอนปูนปะปน มีปฏิกิริยาเปนกลางถึงเปนดางจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 7.0-8.5
                                กลุมชุดดินที่ 34

                                     เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากวัตถุ

                       ตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพัง
                       แลวถูกเคลื่อนยายมาทับถม ของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณ

                       พื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนเนินเขา เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดี

                       ถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวนละเอียดที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดิน

                       รวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดิน
                       เปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5

                                     ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทรายและดิน

                       มีความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับชะลางพังทลายของหนาดิน





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75