Page 81 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 81

3-26








                       กลุมชุดดินที่ 55

                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูก

               เคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนัก ของวัตถุตนกําเนิดดินที่มาจากวัสดุเนื้อละเอียดที่มีปูนปน
               พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลาง

               มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว ในดินชั้นลางที่ระดับความลึกประมาณ

               50-100  เซนติเมตร  พบชั้นหินผุ ซึ่งสวนใหญเปนหินตะกอนเนื้อละเอียด บางแหงมีกอนปูนปะปน
               อยูดวย สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง

               ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-8.0

                       ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก  ดินมีโครงสรางแนนทึบยากตอการไชชอน

               ของรากพืช มักเกิดขั้นดานไถพรวนไดงาย หากไถพรวนในระยะเวลาที่ไมเหมาะสม

                       กลุมชุดดินที่ 56


                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยาย
               มาทับถมในระยะทางไมไกลนัก ของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินอัคนี พบบริเวณ

               พื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี

               เนื้อดินตอนบนชวง 50 เซนติเมตร เปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินปนเศษหิน
               มักพบชั้นพบหินพื้นลึกกวา 100 เซนติเมตร สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ

               ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ

               5.0-6.0
                       ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา และ

               อาจเกิดการชะลางพังทลายไดงาย ถาปลูกพืชในบริเวณที่มีความลาดชันมาก ๆ โดยไมมีการอนุรักษ

               ดินและน้ําที่เหมาะสม


                       กลุมชุดดินที่ 57

                       เปนกลุมชุดดินที่พบบริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุ มีน้ําแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป

               การระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวกดินอินทรียที่สลายตัวปานกลางหนา 40-100  เซนติเมตร
               บางแหงเปนชั้นอินทรียวัตถุสลับกับพวกดินอนินทรีย  สีดินเปนสีดําหรือสีน้ําตาลในชั้นดินอินทรีย

               สวนดินอนินทรียที่เกิดเปนชั้นสลับอยู มีสีเปนสีเทา ใตชั้นดินอินทรียลงไปเปนดินเลนตะกอนน้ําทะเล

               ที่พบระหวางความลึก 50-100  เซนติเมตร  มีสีเทาหรือสีเทาปนเขียว และมีสารประกอบกํามะถัน
               (ไพไรต)  อยูมาก มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก มีคา

               ความเปนกรดเปนดางนอยกวา 4.5




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86