Page 74 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 74

3-19








                              กลุมชุดดินที่ 37

                              เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่

                       หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถม ของวัสดุเนื้อหยาบ วางทับอยูบนชั้นหินผุหรือ
                       ชั้นดินเหนียว พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เปนดินลึก

                       มีการระบายน้ําดีปานกลาง เนื้อดินบนเปนดินทรายปนดินรวน สวนดินชั้นลางในระดับความลึก

                       50-100  เซนติเมตร  เปนดินเหนียว ดินเหนียวปนเศษหิน หรือเปนชั้นหินผุ สีดินบนเปนสีน้ําตาล
                       ดินลางเปนสีน้ําตาลปนเทา บางแหงมีจุดประสีแดงและมีศิลาแลงออนปะปนอยูจํานวนมาก

                       ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดจัดมาก มีคาความเปนกรด

                       เปนดางประมาณ 4.5-5.5

                              ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ในชวงฤดูฝน
                       ดินเปยกแฉะเกินไปสําหรับพืชไรบางชนิด และหนาดินคอนขางเปนทรายหนา


                              กลุมชุดดินที่ 38

                              เปนกลุมชุดดินที่มีวัตถุตนกําเนิดดินเปนพวกตะกอนลําน้ํา ที่มีลักษณะการทับถมเปนชั้น ๆ

                       ของตะกอนลําน้ําในแตละชวงเวลา พบบนสันดินริมน้ํา หรือที่ราบตะกอนน้ําพา เปนพื้นที่ดอน

                       ที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ เปนดินลึก มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวน
                       หรือดินรวนหยาบ สีดินเปนสีน้ําตาลออน อาจพบจุดประสีเทาและสีน้ําตาลในชั้นดินลาง ในบางบริเวณ

                       มีแรไมกาหรือกอนปูนปะปนอยูดวย ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดิน

                       เปนกรดจัดถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0
                              ดินกลุมนี้ไมมีปญหาในการใชประโยชน ยกเวนในชวงฤดูฝนน้ําในลําน้ําอาจเออลนฝง

                       ทําความเสียหายใหแกพืชผลได


                              กลุมชุดดินที่ 39

                              เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดิน

                       พวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยาย

                       มาทับถม ของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินอัคนี หรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่
                       คอนขางราบเรียบถึงเปนเนินเขา เปนดินลึก ที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวก

                       ดินรวนหยาบ สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง และอาจพบจุดประสีตาง ๆ ในชั้นดินลาง

                       ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรด
                       เปนดางประมาณ 4.5-5.5







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79