Page 67 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 67

3-12








               ที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ สวนใหญมีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ํา
               คอนขางเลวเปนสวนใหญ เนื้อดินบนเปนพวกดินรวนปนทรายหรือดินรวน  ดินลางเปนดินรวนเหนียว

               ปนทราย หรือดินรวนเหนียว ดินมีสีน้ําตาลออนถึงสีเทา พบจุดประพวกสีน้ําตาล สีเหลือง หรือ

               สีแดงปะปน บางแหงอาจพบศิลาแลงออนหรือกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีส
               ในดินชั้นลาง  ดินมีความสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ดินชั้นบนมักมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมาก

               ถึงกรดปานกลาง คาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.0  สวนดินชั้นลางจะเปนกรดปานกลาง

               ถึงเปนดางเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.5
                       ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ําและมีเนื้อดินบน

               คอนขางเปนทราย พืชมีโอกาสเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําถาใชปลูกขาว


                       กลุมชุดดินที่ 19

                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพัง

               แลวถูกเคลื่อนยายมาทับถม ของวัสดุเนื้อหยาบ พบในบริเวณที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

               สวนใหญมีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลว เนื้อดินบนเปนดินรวน
               ปนทรายหรือดินทราย ดินลางเปนชั้นดินแนนทึบ มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียว

               สีน้ําตาลออนและสีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ําตาลแดง บางแหงอาจมีศิลาแลงออนปะปนอยูดวย

               ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา มีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมากถึงกรดเล็กนอย คาความเปนกรด
               เปนดางประมาณ 5.0-6.5

                       ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินบนคอนขางเปนทรายและดินลางแนนทึบ

               ไมเหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช ถาฝนตกลงมา ดินจะมีน้ําแชขัง แตถาฝนทิ้งชวง ดินจะขาดน้ํา

                       กลุมชุดดินที่ 20


                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพัง
               อยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถม ของวัสดุเนื้อหยาบ ที่มีชั้นหินเกลือ

               รองรับอยู หรืออาจไดรับอิทธิพลจากการแพรกระจายของเกลือทางผิวดิน พบในบริเวณที่ราบเรียบ

               หรือคอนขางราบเรียบ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงดีปานกลาง

               เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทราย  สวนดินลางเปนชั้นดินแนนทึบที่มีการสะสม
               เกลือโซเดียม มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย หรือดินรวนปนดินเหนียว มีสีน้ําตาลออนถึงสีเทา

               พบจุดประพวกสีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีแดงปะปน หรือกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและ

               แมงกานีสในดินชั้นลาง  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ดินชั้นบนโดยมากจะมีปฏิกิริยา
               เปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  5.0-6.0  สวนดินชั้นลาง





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72