Page 153 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 153

4-41








                       ปลูกเพิ่มขึ้น และปลูกลดลงรอยละ 55.56 ของเกษตรกรรายที่คิดจะเปลี่ยนทั้งหมด แนวคิด
                       ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตนั้น เกษตรกรใหความเห็นวาควรปรับปรุงบํารุงดินดวยวิธีการตางๆ

                       รอยละ 57.84 รองลงมาคือการลงทุนในเรื่องจัดหาแหลงน้ํารอยละ 44.12 สวนที่เหลือรอยละ 8.82

                       เห็นควรวาเปลี่ยนพันธุพืชเสียใหม ในดานการเปลี่ยนอาชีพนั้นเกษตรกรผูปลูกมังคุดที่สํารวจ
                       ไมคิดจะเปลี่ยนอาชีพไปสูนอกภาคการเกษตรสัดสวนสูงถึงรอยละ 74.62  ของจํานวนเกษตรกร

                       ที่สํารวจทั้งหมด  สําหรับผูที่คิดจะเปลี่ยนอาชีพไปสูภาคนอกการเกษตรมีเพียงรอยละ 7.11

                       (ตารางที่ 4-26)

                                ทัศนคติของเกษตรกรที่จําแนกตามระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินที่ปลูกมังคุด

                       พบวาเกษตรกรที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ซึ่งที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1) สวนใหญหรือรอยละ 72.86

                       ยังไมคิดเปลี่ยนอาชีพไปสูภาคนอกการเกษตร แตมีเกษตรกรบางรายคิดเปนรอยละ 2.86 ของจํานวน
                       เกษตรกรที่ในเขตพื้นที่นี้ทั้งหมดมีความคิดที่จะเปลี่ยน เกษตรกรที่สํารวจรอยละ 53.73 ใหเหตุผล

                       ที่เลือกปลูกมังคุดวาเปนพืชที่ดูแลรักษางาย  ลําดับรองลงมานั้นมีสัดสวนรอยละ 14.93 เทากันคือ

                       เปนพืชที่ใชเงินทุนนอยและใหผลผลิตเร็วเมื่อเปรียบเทียบกับไมผลชนิดอื่น ๆ สวนการที่ผลผลิต
                       ขายไดราคาดีนั้นมีสัดสวนรอยละ 13.43 และเกษตรกรรอยละ 4.55 ของจํานวนเกษตรกรที่สํารวจ

                       ในเขตพื้นที่นี้ทั้งหมดตองการจะเปลี่ยนแปลงการผลิตโดยจะปลูกมังคุดเพิ่มขึ้นทุกราย  วิธีการ

                       ปรับปรุงบํารุงดินและการลงทุนจัดหาแหลงน้ําเกษตรกรรอยละ 63.04 และ 34.78 เห็นวาจะเปน

                       วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพทางการเกษตร สําหรับเกษตรกรที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ซึ่งที่ดินมีความเหมาะสม
                       ทางกายภาพปานกลาง(S2) นั้นมีผูที่ยังคงตองการทําอาชีพในภาคการเกษตรพอ ๆ กันกับพื้นที่แรก

                       คือรอยละ 72.31 และรอยละ 81.82 ยังคงปลูกมังคุดตอไป มีผูที่ตองการจะเปลี่ยนการปลูกมังคุด

                       รอยละ 9.38 โดยมีผูปลูกลดลงประมาณครึ่งหนึ่งของผูที่ตองการเปลี่ยนแปลงการปลูกมังคุด
                       ทั้งหมด เหตุผลที่เกษตรกรเลือกปลูกมังคุดเพราะดูแลรักษางาย ผลผลิตขายไดราคาดี ใหผลผลิตเร็ว

                       และใชเงินทุนนอยคิดเปนรอยละ 65.15 21.21 12.12 และ 6.06 ตามลําดับ  วิธีการเพิ่มผลผลิตนั้น

                       เกษตรกรในเขตพื้นที่นี้เห็นวาจะตองปรับปรุงบํารุงดิน ลงทุนเรื่องจัดหาแหลงน้ําและเปลี่ยนพันธุพืช
                       เสียใหม ตามลําดับ โดยมีสัดสวนรอยละ 54.84  38.71 และ 9.68 ของจํานวนเกษตรกรที่สํารวจ

                       ในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางทั้งหมด สําหรับเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3)

                       เกษตรกรเห็นวาการลงทุนเรื่องจัดหาแหลงน้ําสมควรที่จะทําเปนประการแรกถาตองการเพิ่มผลผลิต
                       คิดเปนรอยละ 68.00  ของผูที่ปลูกมังคุดในเขตพื้นที่นี้ทั้งหมด ลําดับรองลงมาคือควรปรับปรุง

                       บํารุงดินรอยละ 52.00 สวนแนวความคิดที่จะตองเปลี่ยนพันธุพืชเสียใหมนั้นมีสัดสวนเพียงรอยละ

                       8.00 เกษตรกรในเขตพื้นที่นี้ไมตองการเปลี่ยนอาชีพไปสูภาคนอกเกษตรสูงกวาเขตพื้นที่อื่น หรือ

                       คิดเปนรอยละ 79.03 ของเกษตรกรที่สํารวจในพื้นที่นี้ทั้งหมด โดยมีความคิดที่จะปลูกมังคุดตอไป




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158