Page 57 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 57

หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน
                                                                                                                 42








                 การสร างความคุ นเคยสร างความเป นกันเอง
                   การสร างความคุ นเคยสร างความเป นกันเอง







               หมอดินสอิ ง  บุตรเจียมใจ เกษตรกรผู้ที ทําอาชีพการปลูกสับปะรดมา 20 กว่าป  เป นอาชีพหลัก
       สมัยก่อนสับปะรดเป นพืชที ปลูกดูแลง่าย ต้นทุนการผลิตตํ า ดินดี ไม่มีโรค ไม่ต้องใช้ปุ ยในปริมาณที
       มาก ช่วงอายุปลูกอยู่ได้ถึง 4 ป   ราคา 2-4 บาทต่อกิโลกรัม ก็ยังสาสามารถเลี ยงดูครอบครัวได้ เมื อ
       ทําแบบเดิมอย่างต่อเนื อง ทําซํ าๆ ไม่มีการบํารุงดิน มีการเผาตอซัง ใช้ปุ ยเคมีมากขึ น จึงเกิดป ญหาดิน

       เสื อมโทรม ผลผลิตตํ า ต้นทุนเริ มสูง จึงเริ มหาหาแนวทางเพื อปรับปรุงดิน และลดต้นทุนในการปลูก
       สับปะรด
              ต่อมา เมื อป  พ.ศ. 2540 เริ มสมัครหมอดินอาสาประจําหมู่บ้าน (บ้านวังยาว) มีความตั งใจ และ

       เข้าร่วมอบรมประชุมกิจกรรมหมอดินอาสาทุกครั งที ได้รับการรับเชิญจากสถานีพัฒนาที ดินฯ ได้นํา
       ความรู้ด้านการปรับปรุงบํารุงดิน การทําปุ ยหมัก การทํานํ าหมัก และการไถกลบตอซังแปลงสับปะรด
       มาพัฒนาในพื นที ของตนเองโดยนําความรู้ที ได้รับการอบรมมาปรับใช้ในพื นที  และหมอดินเป นคนที ตั งใจ
       และพยายามที จะพัฒนาพื นที ของตนเองในพื นที ปลูกสับปะรด 11 ไร่  เกษตรผสมผสาน 14 ไร่ พื นที
       เป นกลุ่มชุดดินที  36 ชุดดินปราณบุรี (Pr) เป นดินลึก ดินบนเป นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วนปน

       ดินเหนียว สีนํ าตาลหรือนํ าตาลปนแดงเข้ม ดินล่างเป นดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วน
       เหนียวปนทราย สีนํ าตาลปนแดงหรือสีแดงเข้ม ปฏิกิริยาดินเป นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5)
       ในดินบน และเป นกรดจัดถึงเป นกลาง (pH 5.5-7.0) ในดินล่าง ความอุดมสมบูรณ์ตํ า เนื อดินค่อนข้าง

       เป นทราย การระบายนํ าดีปานกลาง มีดินบนเป นดินร่วนปนทราย ความลาดชันของพื นที  % 0-2  จึงได้
       วางแผนการพัฒนาพื นที ของตนเองใหม่ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที ดิน ใช้ปุ ยพืช
       สด ปรับปรุงดินพร้อมไถ นํ าหมักชีวภาพ ปุ ยหมัก ปุ ยอินทรีย์คุณภาพสูง จึงทําให้ดินดีขึ น ต้นทุนลด
       ลง และมีรายได้เพิ มขึ น ต่อมาได้ยกระดับจากหมอดินอาสาประจําหมู่บ้าน เป นหมอดินอาสาประจําตําบล
       และดําเนินการจัดตั งธนาคารปุ ยอินทรีย์ ป  2566 และเป นศูนย์ฝ กปฏิบัติด้านการพัฒนาที ดิน   ป

       2567 เป นแปลงต้นแบบ การใช้เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที ดิน เพื อลดต้นทุนในการปลูกสับปะรด การ
       ทํานํ าหมักชีวภาพ การทําปุ ยหมัก ปุ ยอินทรีย์คุณภาพสูง ซึ งมีแนวคิดให้ประสบความสําเร็จ คือ
       หาความรู้ ลงมือทํา นําไปใช้ ได้ประโยชน์ พืชผลดี มีคนทําตาม และจนเป นแหล่งศึกษาดูงาน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62