Page 44 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 44

31
                                                                                               หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน
                                    ถอดบทเรียน : นางสมพร  ดีช่วย

                              เกษตรกรต้นแบบการปลูกอ้อยต าบลหินเหล็กไฟ


           กลุ่มแปลงใหญ่ หมู่ที่ 6 ต าบลหินเหล็กไฟ อ าเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์





                         ความเป็นมา                                                   เทคโนโลยี


     •    เดิมปลูกข้าวอาศัยน้ าฝนตามธรรมชาติ ข้าวนาดอนไม่ได้ผล  •   พักดิน ปลูกมันส าปะหลัง ปลูกแตงโม และปลูกพืชบ ารุงดิน

          ผลิ                                                  •    ไถเตรียมดิน ผาน 6 1 ครั้ง ไถระเบิดดิน 1 ครั้ง ตีดิน 1 ครั้ง
     •    ปี 2532 ลองหันมาปลูกอ้อยแบบปลูกร่องเดี่ยวใช้แรงงาน        ไถปลูก 1 ครั้ง

          ควายช่วยไถยกร่องและกลบร่องและใช้แรงงานคนตัดส่ง       •    ปุ๋ยรองพื้นสูตรอินทรีย์เคมีพร้อมอ้อยปลูก 50 กก./ไร่ ครั้งที่
          โรงงาน                                                    2 อายุอ้อย 60 วัน ฝังปุ๋ยสูตรเร่งต้น ให้ปุ๋ยทางใบโดยการ
     •    ปี 2547 ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการปลูกโดยใช้เครื่องจักร      ใช้เครื่องฉีดพ่น

          ปลูกและตัด                                           •    ใช้รถตัดอ้อยในการเก็บเกี่ยว
     •    เปลี่ยนการให้น้ าอ้อยเป็นแบบน้ าราดตามร่อง           •    ใช้รถไถในการไถระเบิดดินดาน
                                                               •    สับกลบใบอ้อยด้วยปุ๋ยยูเรีย 25 กก./น้ า200 ลิตร ฉีดพ่นได้

                                                                    ปริมาณ 5 ไร่
                          แรงบันดาลใจ

     •    การท านาเกษตรเชิงเดี่ยว ราคาข้าวไม่คง มีความเสี่ยงจึง

          คิดปรับเปลี่ยน                                                             การจัดการ
     •    การศึกษาดูงานเกี่ยวกับการปลูกอ้อยในที่ต่าง
     •    พื้นที่ตั้งโรงงานรับซื้ออ้อยอยู่ในพื้นที่ใกล้บ้านและโรงงาน  •  ใช้ใบอ้อยคลุมตามร่องแปลงเพื่อรักษาความชื้นในดิน

          รับรองการรับซื้ออ้อยจากชาวไร่จึงเกิดเป็นแรงจูงใจที่คิดจะ  •  ให้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยคอกตามร่องไถพรวน น้ าหมัก ฮอร์โมนพืช
          ท าไร่อ้อย                                                ฉีดพ่นทางใบตอนอ้อยมีอายุ 30 วัน อ้อยเริ่มมีใบ 2-3 ใบ
     •    มีการจัดตั้งกลุ่มแปลงใหญ่อ้อย                             ตามอายุ
     •    หน่วยงานจากภาครัฐเข้ามาสนับสนุนปัจจัยการผลิตและ      •    ให้น้ าโดยการราดตามร่องและปล่อยตามสายน้ าหยดตั้งแต่

          ร่วมถ่ายทอดความรู้ให้กับทางกลุ่มท าให้เกษตรกรกล้าที่จะ    ช่วงอายุอ้อย 3-5 เดือน
          ตัดสินใจในการปรับเปลี่ยนพื้นที่จากการท านามาท าไร่อ้อย  •  1 รอบการปลูกใหม่เป็นเวลา 4 ปี ไว้ตอ 4 ตอ อายุเก็บเกี่ยว

          จนถึงปัจจุบัน                                             12 เดือน ผลผลิตเฉลี่ย 15 ตันต่อไร่



                                                         ผลตอบแทน


                      ต้นทุนอ้อยตอ (ปี 2566)                                  รายได้อ้อยตอ (ปี 2566)

                  รายการ                    เป็นเงิน (บาท)                  รายการ                    เป็นเงิน (บาท)

    ค่าปุ๋ย 19 กระสอบ  ละ 1200 บาท             22,800       ได้ผลผลิต ความหวาน 13 ccs. = 1680 บาท/ตัน   302,400

    ค่าฉีดพ่นยาก าจัดวัชพืช 1 ครั้ง            2,700        ได้ผลผลิต 15 ตัน/ไร่
    ค่าแรงคนงาน 30 วัน ละ 300 บาท              9,000

    ค่าตัดอ้อย+ค่าขนส่ง 350 บาท/ตัน            63,000                         รวม                       302,400
    ค่าท่อนพันธุ์อ้อยมาปลูกซ่อม                 800         รายรับ 302,400 – รายจ่าย 98,300 = 204,100

                    รวม                        98,300                      คงเหลือสุทธิ                  204,100


                           จัดท าโดย สถานีพัฒนาที่ดินบุรีรัมย์ ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 3
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49