Page 19 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 19

หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน
                                                                                                                  8
                                      นายพิชัย โสทะายพิชัย โสทะ
                                      น

                         ชาวนามือทองแหงเมืองมังกรนครสวรรคชาวนามือทองแหงเมืองมังกรนครสวรรค

                        หมู่ที  4 ตําบลบึงปลาทู อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์4 ตําบลบึงปลาทู อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
                        หมู่ที
                    โดยสถานีพัฒนาที ดินนครสวรรค์ ร่วมกับกลุ่มวิชาการเพื อการพัฒนาที ดินสํานักงานพัฒนาที ดินเขต 9ยสถานีพัฒนาที ดินนครสวรรค์ ร่วมกับกลุ่มวิชาการเพื อการพัฒนาที ดินสํานักงานพัฒนาที ดินเขต 9
                    โด
                   ความเป นมา                                                     ชุดดิน

       เดิม ปลูกข้าวเพื อจําหน่ายให้กับพ่อค้า ซึ งมุ่งเน้นที ผลผลิต  ดินคล้ายชุดดินกําแพงเพชรที มีจุดประสีเทาและเป นดินร่วน
   สูงสุด มีการใช้ปุ ยเคมีและสารเคมีในปริมาณมาก ก่อให้เกิด      ละเอียด Kp-gm,fl-sclA/b (กลุ่ม36b) ดินบนเป นดินร่วน
   ป ญหาดินเสื อมคุณภาพ ต้นทุนการผลิตสูง ต่อมาได้สมัครเป น      ปนทรายดินล่างเป นดินร่วนเหนียวปนทราย
   หมอดินอาสา ผ่านการฝ กอบรมหลักสูตรด้านการพัฒนาที ดินและ
   ดูงานพัฒนาที ดิน จึงได้นําความรู้และภูมิป ญญาท้องถิ นมา
   ประยุกต์ใช้ในการทํานาเป ยกสลับแห้ง ป  2543 เป นประธานศูนย์
   ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนตําบลบึงปลาทู
   ป จจุบันปลูกข้าวเพื อผลิตเมล็ดพันธุ์ (กข 85) เป นศูนย์
   ศพก.อําเภอบรรพตพิสัย พื นที แปลงใหญ่ (ข้าว) ต้นแบบของ                     การเตรียมดิน
   จังหวัดนครสวรรค์
            การบริหารจัดการแปลง                             1.ปลูกปอเทือง  อัตรา  5  กก./ไร่  เมื อออกดอก  ไถลบลงดิน  หรือ
                                                            ปลูกถั วเขียวหลังนา เพื อเป นการปรับปรุงบํารุงดิน
  1. เก็บตัวอย่างดินเพื อตรวจวิเคราะห์ พร้อมนําผลไปใช้ในการ  2.เก็บตัวอย่างดินและตรวจวิเคราะห์ดิน (ก่อนการปลูกข้าว)
  จัดการปุ ยเคมีให้มีประสิทธิภาพ                            3. ใช้ผานไถกลบตอซังและฟางข้าว ไม่เผาฟาง
  2. ไม่เผาฟาง โดยใช้ผานไถกลบตอซังและฟางข้าว ช่วยเพิ ม      4.ปรับพื นที นาให้เสมอ   เพื อควบคุมระดับปริมาณนํ าในแปลงนา
  ปริมาณหรือจํานวนของจุลินทรีย์ดินมีผลช่วยลดปริมาณเชื อ     ช่วยให้ง่ายต่อการจัดการนํ าลดป ญหาวัชพืชในนาข้าวลดป ญหา
  สาเหตุโรคพืชบางชนิดในดินลดน้อยลง                          การใช้นํ า  สะดวกต่อการระบายนํ า  ความสมํ าเสมอต่อการให้ปุ ย
  3. ปรับพื นที นาให้เสมอ เพื อควบคุมระดับปริมาณนํ าในแปลง  และความสุกแก่ของเมล็ดพันธุ์ โดยใช้ขุบตีเทือก
  นา ลดป ญหาวัชพืชในนาข้าว                                  5.ปรับเปลี ยนจากนาหว่านนํ าตมเป นนาป กดํา เพื อใช้เทคโนโลยีใหม่
  4. ใช้แนวทางเป ยกสลับแห้งแกล้งข้าว ลดปริมาณการใช้นํ า     ในการลดต้นทุนการผลิตด้านเมล็ดพันธุ์ ปุ ยเคมี สารเคมี และเพิ ม
  ในนาข้าว แก้ป ญหาดินหล่ม ช่วยลดป ญหาเรือนกระจก            คุณภาพของผลผลิต
  5. ใส่ปุ ยตามค่าวิเคราะห์ดินโดยการใช้ แม่ปุ ย แบ่งใส่ 2 ครั ง  6.  บางฤดูกาลสถานการณ์นํ าไม่เพียงพอ  ปรับเปลี ยนการปลูก

                   เทคโนโลยี                                ข้าวแบบป กดํามาเป นหยอดข้าวแห้ง โดยใช้เครื องหยอดข้าวแห้ง

 1. ปรับเปลี ยนจากนาหว่านนํ าตมเป นนาป กดํา                 H6  ลดปริมาณการใช้นํ าในนาข้าว  แก้ป ญหาดินหล่ม  และช่วยลด
                                                            ก๊าซมีเทนอันเป นต้นเหตุสําคัญของภาวะโลกร้อน
 2. ใช้เครื องหยอดข้าวแห้ง บางฤดูกาลสถานการณ์นํ าไม่
 เพียงพอ จึงปรับเปลี ยนและปลูกข้าว แบบป กดํามาเป น
 หยอดข้าวแห้ง ซึ งใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ 10 -15 กิโลกรัมต่อไร่
 3. ใช้โดรนพ่นสาร ลดการสัมผัสสารเคมีโดยตรง
 4. ใช้รถแบบตีนตะขาบ ฉีดพ่นสาร หว่านข้าว หว่านปุ ย
 5. ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดีจากกรมการข้าว
 6. ใช้เชื อราบิวเวอเรียเพื อป องกันการระบาดของหนอนกอ          ผลตอบแทนการผลิต ข้าว กข.85
 และเพลี ยกระโดดสีนํ าตาล

       เทคโนโลยีกรมพัฒนาที ดิน                                          ผลผลิต  1,100-1,200 กิโลกรัม/ไร่

    1. ใส่ปุ ยตามค่าวิเคราะห์ดินโดยการใช้แม่ปุ ย                        ต้นทุนการผลิต 4,350 บาท/ไร่
    แบ่งใส่ 2 ครั ง                                                     รายได้ 13,200-14,400 บาท/ไร่
    2. ฉีดพ่นนํ าหมัก พด.2  พด.15
    3. ใช้พด.7 ป องกันแมลงศัตรูพืช
    4. ใช้พด. 3 ควบคุมโรค
    5. ใช้ปุ ยชีวภาพ พด.12
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24