Page 99 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2561
P. 99

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                 83







                                        (3) ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 3,828 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอดงเจริญ รองลงมาอ าเภอบึงนาราง และอ าเภอทับคล้อ ตามล าดับ
                                        (4) ไม้ยืนต้นผสม (A301) มีเนื้อที่  3,641 ไร่ หรือร้อยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอเมืองพิจิตร รองลงมาอ าเภอโพทะเล และอ าเภอวชิรบารมี ตามล าดับ

                                        (5) ปาล์มน้ ามัน (A303) มีเนื้อที่  1,788 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอเมืองพิจิตร รองลงมาอ าเภอสากเหล็ก และอ าเภอโพทะเล ตามล าดับ
                                        (6) ไม้ยืนต้นอื่น ๆ ที่พบได้แก่ ไม้ยืนต้นร้าง/เสื่อมโทรม สะเดา ประดู่ หม่อน
                       ไผ่ปลูกเพื่อการค้า จามจุรี และตะกู มีเนื้อที่ 2,110 ไร่ หรือร้อยละ 0.08 ของเนื้อที่ทั้งหมด

                                  4) ไม้ผล (A4)  มีเนื้อที่  121,452 ไร่ หรือร้อยละ 4.28 ของเนื้อที่จังหวัด ไม้ผลที่ส าคัญ
                       ทางเศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตร ได้แก่
                                        (1) มะม่วง (A407)   มีเนื้อที่ 34,331 ไร่ หรือร้อยละ 1.21 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอสากเหล็ก รองลงมาอ าเภอวังทรายพูน อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอทับคล้อ

                       ตามล าดับ พันธุ์มะม่วงที่ปลูก เช่น พันธุ์น้ าดอกไม้สีทอง และพันธุ์เขียวเสวย
                                        (2) กล้วย (A411) มีเนื้อที่ 30,618 ไร่ หรือร้อยละ 1.08 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอบึงนาราง รองลงมาอ าเภอโพทะเล อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอ

                       เมืองพิจิตร ตามล าดับ
                                        (3) ส้มโอ (A427) มีเนื้อที่ 21,034 ไร่ หรือร้อยละ 0.74 ของเนื้อที่จังหวัด พบปลูก
                       มากที่สุดในพื้นที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง รองลงมาอ าเภอเมืองพิจิตร และอ าเภอตะพานหิน ตามล าดับ
                       พันธุ์ที่ปลูกเช่น พันธุ์ท่าข่อย ซึ่งเป็นพันธุ์ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด พันธุ์ขาวแตงกวา และพันธุ์ทองดี เป็นต้น
                                        (4) มะนาว (A422) มีเนื้อที่ 13,042 ไร่ หรือร้อยละ 0.46 ของเนื้อที่จังหวัด

                       พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอโพทะเล รองลงมาอ าเภอตะพานหิน และอ าเภอบึงนาราง ตามล าดับ
                                        (5) ไม้ผลผสม (A401) มีเนื้อที่ 12,951 ไร่ หรือร้อยละ 0.46 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอเมืองพิจิตร รองลงมาอ าเภอโพทะเล และอ าเภอตะพานหิน ตามล าดับ

                                        (6) ไม้ผลอื่น ๆ ที่พบได้แก่ ไม้ผลร้าง/ไม้ผลเสื่อมโทรม ส้ม ทุเรียน เงาะ มะพร้าว
                       พุทรา น้อยหน่า มะขาม ล าไย ฝรั่ง มะละกอ ขนุน และกระท้อน ชมพู่ มะขามเทศ แก้วมังกร และ
                       มะปราง มะยงชิด มีเนื้อที่ 9,476 ไร่ หรือร้อยละ 0.33 ของเนื้อที่จังหวัด
                                  5) พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 6,752 ไร่ หรือร้อยละ 0.24 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ พืชสวนร้าง/

                       เสื่อมโทรม พืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชสมุนไพร และพืชสวนร้าง/เสื่อมโทรม
                                        (1) พืชผัก (A502)  มีเนื้อที่ 5,949  ไร่ หรือร้อยละ 0.21  ของเนื้อที่จังหวัด พบปลูก
                       มากที่อ าเภอบึงนาราง อ าเภอโพทะเล และปลูกกระจายในทุกอ าเภอ
                                        (2) พืชสวนร้าง/เสื่อมโทรม (A500) มีเนื้อที่ 455  ไร่ หรือร้อยละ 0.02  ของ

                       เนื้อที่จังหวัด ที่พบส่วนใหญ่เป็นไร่องุ่นร้าง พบมากที่อ าเภอดงเจริญ
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104