Page 75 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2561
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                 60







                       2.6  สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดน่าน ปี พ.ศ. 2561
                            จังหวัดน่าน มีเนื้อที่ทั้งหมด 7,170,045 ไร่ สามารถจ าแนกประเภทการใช้ที่ดินได้ออกเป็น
                       5 ประเภท คือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 141,908 ไร่ หรือร้อยละ 1.99 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พื้นที่เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 2,571,090 ไร่ หรือร้อยละ 35.85 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ป่าไม้ (F) มีเนื้อที่

                       4,381,520 ไร่ หรือร้อยละ 61.12 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่น้ า (W)  มีเนื้อที่ 52,228 ไร่ หรือร้อยละ 0.72
                       ของเนื้อที่จังหวัด และพื้นที่เบ็ดเตล็ด (M)  มีเนื้อที่ 23,399 ไร่ หรือร้อยละ 0.32 ของเนื้อที่จังหวัด
                       โดยการใช้ประโยชน์ในพื้นที่แต่ละประเภทมีรายละเอียด (ภาพที่ 6 และตารางที่ 6) ดังนี้
                            2.6.1 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U)  มีเนื้อที่ 141,908 ไร่ หรือร้อยละ 1.99 ของเนื้อที่จังหวัด

                       ประกอบด้วยตัวเมืองและย่านการค้า หมู่บ้านบนพื้นราบ หมู่บ้านชาวไทยภูเขา สถานที่ราชการและ
                       สถาบันต่าง ๆ สถานีคมนาคม ถนน ทางรถไฟ พื้นที่อุตสาหกรรมร้าง โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและ
                       แหล่งรับซื้อทางการเกษตร สถานที่ร้าง สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ สุสาน ป่าช้า
                       และสถานีบริการน้ ามัน

                                  1)  ตัวเมืองและย่านการค้า (U1) มีเนื้อที่ 8,696 ไร่ หรือร้อยละ 0.12 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ประกอบด้วย ตัวอ าเภอเมืองน่าน อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ อ าเภอทุ่งช้าง อ าเภอสองแคว อ าเภอเชียงกลาง
                       อ าเภอปัว อ าเภอบ่อเกลือ อ าเภอท่าวังผา อ าเภอสันติสุข อ าเภอภูเพียง อ าเภอแม่จริม อ าเภอเวียงสา

                       อ าเภอบ้านหลวง อ าเภอนาน้อย และอ าเภอนาหมื่น
                                  2) หมู่บ้าน (U2) ได้แก่ หมู่บ้านบนพื้นราบ มีเนื้อที่ 96,712 ไร่ หรือร้อยละ 1.35 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนซึ่งกระจายตัวอยู่ทั่วไปในทุกอ าเภอ หมู่บ้านชาวไทยภูเขา
                       มีเนื้อที่ 8,711 ไร่ หรือร้อยละ 0.12 ส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของชาวเขาบนพื้นที่สูงบริเวณภูเขา
                       เช่น หมู่บ้านไทลื้อ หนองบัว อ าเภอท่าวังผา หมู่บ้านป่าก่ า อ.บ่อเกลือ ประกอบด้วยชาวไทยภูเขา

                       ชนเผ่าม้ง เผ่าเมี่ยน เผ่าลั๊วะ เผ่าขมุ ส่วนหมู่บ้าน/ที่ดินจัดสรรร้าง มีเนื้อที่ 89 ไร่
                                  3)  สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ (U3) ได้แก่ สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ
                       มีเนื้อที่ 17,824 ไร่ หรือร้อยละ 0.25 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ

                       เช่น มหาวิทยาลัยน่าน เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาลัยสงฆ์ โรงพยาบาล ส านักงานเกษตรจังหวัด
                       ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ส่วนใหญ่พบในเขตพื้นที่ชุมชนเมือง
                                  4)  สถานีคมนาคม (U4) มีเนื้อที่ 1,457 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด เส้นทาง
                       คมนาคมที่ส าคัญ ได้แก่ สนามบิน มีเนื้อที่ 644 ไร่ และถนน มีเนื้อที่ 813 ไร่

                                  5)  ย่านอุตสาหกรรม (U5) มีเนื้อที่ 3,604 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่
                       โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร มีเนื้อที่ 2,128 และ 1,073 ไร่ หรือร้อยละ
                       0.03 และ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด และพื้นที่อุตสาหกรรมร้าง มีเนื้อที่ 403 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                       อุตสาหกรรมของจังหวัดน่านที่พบมากสุด ได้แก่ โรงงานผลิตภัณฑ์จากพืช โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

                       โรงงานแปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ โรงงานผลิตภัณฑ์อโลหะ
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80