Page 329 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2561
P. 329

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                              294







                       2.30 สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดตรัง ปี พ.ศ. 2561
                           จังหวัดตรัง มีเนื้อที่ทั้งหมด 3,073,449  ไร่  สามารถจ าแนกประเภทการใช้ที่ดินออกเป็น 5 กลุ่ม
                       คือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 154,064 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.01  ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่
                       เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 1,911,990  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 62.20  ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ป่าไม้  (F)  มีเนื้อที่

                       786,554 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 25.59 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่น้ า (W) มีเนื้อที่ 73,622 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.40
                       ของเนื้อที่จังหวัด และพื้นที่เบ็ดเตล็ด (M)  มีเนื้อที่ 59,816 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.95 ของเนื้อที่จังหวัด
                       โดยการใช้ประโยชน์ในพื้นที่แต่ละประเภท มีรายละเอียด (ภาพที่ 30 และตารางที่ 30) ดังนี้
                             2.30.1 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 154,064 ไร่ หรือร้อยละ 5.01  ของเนื้อที่

                       จังหวัด ประกอบด้วยตัวเมืองและย่านการค้า หมู่บ้าน/ที่ดินจัดสรรร้าง หมู่บ้านบนพื้นราบ สถานที่
                       ราชการและสถาบันต่าง ๆ สนามบิน ถนน ทางรถไฟ พื้นที่อุตสาหกรรมร้าง นิคมอุตสาหกรรม
                       โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร สถานที่ร้าง สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
                       รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ สุสาน ป่าช้า สถานีบริการน้ ามัน และสนามกอล์ฟ

                                     1) ตัวเมืองและย่านการค้า (U1) มีเนื้อที่ 15,706 ไร่  หรือร้อยละ 0.51 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ประกอบด้วยตัวอ าเภอเมืองตรัง อ าเภอกันตัง อ าเภอย่านตาขาว อ าเภอปะเหลียน อ าเภอสิเกา
                       อ าเภอห้วยยอด อ าเภอวังวิเศษ อ าเภอนาโยง อ าเภอรัษฎา และอ าเภอหาดส าราญ

                                    2) หมู่บ้าน (U2) มีเนื้อที่รวม 95,802 ไร่ หรือร้อยละ 3.12ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่
                       เป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนซึ่งกระจายตัวอยู่ทั่วไปในทุกอ าเภอและหมู่บ้านและที่ดินจัดสรรร้าง 27 ไร่
                                    3) สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ (U3) มีเนื้อที่รวม  21,335 ไร่ หรือร้อยละ
                       0.69 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยสถานที่ราชการต่าง ๆ 21,314 ไร่ สถานที่ราชการ โรงพยาบาล
                       โรงเรียน วัดต่าง ๆ เป็นต้นและสถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ ร้าง 21 ไร่

                                     4) เส้นทางคมนาคม  (U4) มีเนื้อที่รวม 10,766 ไร่ หรือร้อยละ 0.36 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ประกอบด้วย ถนน มีเนื้อที่ 8,484 ไร่ หรือร้อยละ 0.28 ของเนื้อที่จังหวัด สนามบิน (U401)
                       มีเนื้อที่ 1,758 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด

                                    5) ย่านอุตสาหกรรม  (U5)  มีเนื้อที่  6,957 ไร่ หรือร้อยละ 0.22 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ได้แก่ พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตรและ
                       พื้นที่อุตสาหกรรมร้าง
                                    6) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ (U6) มีเนื้อที่ 3,153 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของ

                       เนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ สุสาน ป่าช้า
                       สถานีบริการน้ ามัน
                                    7) สนามกอล์ฟ (U7) มีเนื้อที่ 345 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                            2.30.2  พื้นที่เกษตรกรรม  (A) มีเนื้อที่  1,999,393 ไร่ หรือร้อยละ 65.05  ของเนื้อที่จังหวัด

                       ประกอบด้วยพื้นที่นา  พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชสวน ทุ่งหญ้าและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ พืชน้ า  สถานที่
                       เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม
                                    1) พื้นที่นา (A1) มีเนื้อที่ 36,379 ไร่ หรือร้อยละ 1.19 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย
                       นาข้าว มีเนื้อที่  14,376 ไร่ หรือร้อยละ  0.47  ของเนื้อที่จังหวัด นาร้าง มีเนื้อที่ 22,003  ไร่

                       หรือร้อยละ 0.72 ของเนื้อที่จังหวัด
                                    2) พืชไร่ (A2) มีเนื้อที่ 46 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกสัปปะรดทั้งหมด
   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334