Page 191 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2561
P. 191

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                169







                            2.16.2 พื้นที่เกษตรกรรม (A)  มีเนื้อที่ 1,637,102 ไร่ หรือร้อยละ 33.42  ของเนื้อที่จังหวัด
                       ประกอบด้วย พื้นที่นา พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชสวน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์
                       สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม
                                  1) พื้นที่นา (A1) มีเนื้อที่ 740,592 ไร่  หรือร้อยละ 15.11 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย

                       นาร้าง มีเนื้อที่ 1,133  ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด นาข้าว 720,758 ไร่ หรือร้อยละ 14.71  ของ
                       เนื้อที่จังหวัด พบมากในพื้นที่อ าเภอพิชัย รองลงมาคือ อ าเภอเมืองอุตรดิตถ์ อ าเภอตรอน และอ าเภอลับแล
                       นอกจากนี้มีการปลูกพืชอื่น ๆ ตามหลังเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว มีเนื้อที่ 18,842 ไร่ หรือร้อยละ 0.37 ของ
                       เนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ข้าวโพด มันส าปะหลัง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง แตงโม พริก เผือก และพืชผัก (หอมแดง ต้นหอม)

                       รวมถึงพื้นที่ที่มีน้ าท่วมขังในฤดูฝน และปลูกข้าวในฤดูแล้ง มีเนื้อที่ 219ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                                  2) พืชไร่ (A2)  มีเนื้อที่ 558,428 ไร่ หรือร้อยละ 11.41 ของเนื้อที่จังหวัด พืชไร่ที่ส าคัญ
                       ได้แก่ ข้าวโพด อ้อย มันส าปะหลัง และสับปะรด
                                        (1) ข้าวโพด (A202) มีเนื้อที่ 292,445 ไร่ หรือร้อยละ 5.97 ของเนื้อที่จังหวัด

                       ส่วนใหญ่ปลูกมากอยู่ในอ าเภอบ้านโคก รองลงมาคือ อ าเภอน้ าปาด อ าเภอทองแสนขัน และพบกระจาย
                       ตัวในทุกอ าเภอรวมทั้งพื้นที่ปลูกพืชอื่น ๆ ตามหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวโพดแล้ว มีเนื้อที่ 2,042 ไร่
                       หรือร้อยละ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ถั่วลิสง และพืชผัก (หอมแดง)

                                        (2) อ้อย (A203) มีเนื้อที่ 161,126   ไร่ หรือร้อยละ  3.29  ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่
                       ปลูกมากอยู่ในอ าเภอพิชัย รองลงมาคือ อ าเภอตรอน อ าเภอทองแสนขัน และพบกระจายตัวในทุกอ าเภอ
                                        (3) มันส าปะหลัง (A204) มีเนื้อที่ 44,152 ไร่ หรือร้อยละ 0.90 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ส่วนใหญ่ปลูกมากอยู่ในอ าเภอพิชัย รองลงมาคือ อ าเภอทองแสนขัน อ าเภอตรอน และพบกระจายตัวในทุกอ าเภอ
                                        (4) สับปะรด (A205) มีเนื้อที่ 29,003 ไร่ หรือร้อยละ 0.59 ของเนื้อที่จังหวัด จังหวัด

                       อุตรดิตถ์เป็นแหล่งผลิตสับปะรดที่ส าคัญ คือ “สับปะรดห้วยมุ่น” ส่วนใหญ่ปลูกมากที่อ าเภอน้ าปาด
                       รองลงมาคือ อ าเภอบ้านโคก
                                  3) ไม้ยืนต้น (A3) มีเนื้อที่ 114,439 ไร่ หรือร้อยละ 2.34 ของเนื้อที่จังหวัด ไม้ยืนต้น

                       ที่ส าคัญ ได้แก่ สัก ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส และไม้ยืนต้นร้าง/เสื่อมโทรม
                                        (1)  สัก (A305) มีเนื้อที่ 67,341 ไร่ หรือร้อยละ 1.38 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่
                       ปลูกมากอยู่ที่อ าเภอน้ าปาด รองลงมาคือ อ าเภอท่าปลา อ าเภอเมืองอุตรดิตถ์ และพบกระจายตัว
                       ในทุกอ าเภอ

                                        (2)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 34,113 ไร่ หรือร้อยละ 0.70 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่
                       ปลูกมากที่อ าเภอน้ าปาด รองลงมาคือ อ าเภอทองแสนขัน อ าเภอบ้านโคก และพบกระจายตัวในทุกอ าเภอ
                                        (3)  ปาล์มน้ ามัน (A303) มีเนื้อที่ 5,411 ไร่ หรือร้อยละ 0.11 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ส่วนใหญ่ปลูกมากอยู่ที่อ าเภอพิชัย รองลงมาคือ อ าเภอทองแสนขัน และพบกระจายตัวในทุกอ าเภอ
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196