Page 170 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2561
P. 170

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                148







                                             (1) ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 14,097 ไร่ หรือร้อยละ 0.50 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ส่วนใหญ่ปลูกอยู่ที่อ าเภอลี้ รองลงมาคืออ าเภอทุ่งหัวช้าง และกระจายอยู่ทั่วไปในอ าเภอต่าง ๆ
                       ของจังหวัด
                                             (2) สัก (A305) มีเนื้อที่ 8,833 ไร่ หรือร้อยละ 0.31 ของเนื้อที่จังหวัด

                       ส่วนใหญ่ปลูกอยู่ที่อ าเภอลี้ รองลงมาคือ อ าเภอบ้านโฮ่ง อ าเภอเมืองล าพูน และกระจายอยู่ทั่วไปใน
                       อ าเภอต่าง ๆ ทั่วจังหวัด

                                             (3) ยูคาลิปตัส (A304) มีเนื้อที่ 3,941 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ส่วนใหญ่ปลูกอยู่ที่อ าเภอเมืองล าพูน รองลงมาคืออ าเภอเวียงหนองล่อง อ าเภอลี้ตามล าดับ และกระจาย
                       อยู่ทั่วไปในอ าเภอต่าง ๆ ของจังหวัด

                                             (4) ปาล์มน้ ามัน (A303) มีเนื้อที่ 1,372 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ส่วนใหญ่ปลูกอยู่ที่อ าเภอป่าซาง รองลงมาคืออ าเภอบ้านธิ และกระจายอยู่ทั่วไปในอ าเภอต่าง ๆ

                       ของจังหวัด
                                        4) ไม้ผล (A4) มีเนื้อที่ 484,914 ไร่ หรือร้อยละ 17.21 ของเนื้อที่จังหวัด ไม้ผล
                       เศรษฐกิจหลักของจังหวัด ได้แก่ ล าไย รองลงมาคือ มะม่วง และไม้ผลอื่น ๆ ประกอบด้วย

                                             (1) ล าไย (A413) เป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่ส าคัญของจังหวัด มีเนื้อที่ 413,909 ไร่
                       หรือร้อยละ 14.70 ของเนื้อที่จังหวัด ปลูกมากอยู่ในอ าเภอลี้ รองลงมาคืออ าเภอเมืองล าพูน และอ าเภอ

                       ป่าซาง ตามล าดับ และพบว่าปลูกกระจายอยู่ทั่วไปในอ าเภอต่าง ๆ ของจังหวัด
                                             (2) มะม่วง (A407) มีเนื้อที่ 59,749 ไร่ หรือร้อยละ 2.12 ของเนื้อที่จังหวัด
                       ส่วนใหญ่ปลูกอยู่ในอ าเภอบ้านโฮ่ง รองลงมาคืออ าเภอลี้ อ าเภอป่าซาง ตามล าดับ และปลูกกระจาย

                       อยู่ทั่วไปในอ าเภอต่าง ๆ ของจังหวัด
                                             (3) ไม้ผลอื่น ๆ มีเนื้อที่ 11,256 ไร่ หรือร้อยละ 0.39 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่

                       ไม้ผลผสม ส้ม มะพร้าว มะม่วงหิมพานต์ พุทรา กล้วย มะขาม ฝรั่ง มะละกอ มะนาว ส้มโอ มะปราง
                       มะยงชิด เป็นต้น ปลูกกระจายอยู่ทั่วไปในอ าเภอต่าง ๆ ของจังหวัด

                                        5) พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 9,059 ไร่ หรือร้อยละ 0.32 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย
                       พืชผัก และพืชสวนอื่น ๆ
                                             (1) พืชผัก (A502) มีเนื้อที่ 8,307 ไร่ หรือร้อยละ 0.30 ของเนื้อที่จังหวัด

                       พบมากบริเวณอ าเภอป่าซาง รองลงมาอ าเภอบ้านโฮ่ง อ าเภอเมือง โดยนิยมปลูกหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว
                       ได้แก่ หอมแดง กระเทียม และพืชผักอื่น ๆ ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งของจังหวัด
                                             (2) พืชสวนอื่น ๆ ได้แก่ ไม้ดอกไม้ประดับ องุ่น เสาวรส พืชสมุนไพร นาหญ้า
                       แคนตาลูป และพืชสวนร้าง/เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 752 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด

                                        6) ไร่หมุนเวียน (A6) ได้แก่ พืชไร่ผสม (ไร่หมุนเวียน) และไร่หมุนเวียนร้าง มีเนื้อที่
                       463 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175