Page 158 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2561
P. 158

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           136




               2.13  สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดล าปาง ปี พ.ศ. 2561
                     จังหวัดล าปาง มีเนื้อที่ทั้งหมด 7,833,726 ไร่ สามารถจ าแนกประเภทการใช้ที่ดินออกได้เป็น 5 ประเภท

               คือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U)  มีเนื้อที่ 312,025 ไร่ หรือร้อยละ 4.01 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่
               เกษตรกรรม (A)  มีเนื้อที่ 1,777,886 ไร่ หรือร้อยละ 22.67 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ป่าไม้ (F)  มีเนื้อที่
               5,480,762 ไร่ หรือร้อยละ 69.96 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่น้ า (W) มีเนื้อที่ 109,319 ไร่ หรือร้อยละ 1.39 ของ
               เนื้อที่จังหวัด และพื้นที่เบ็ดเตล็ด (M)  มีเนื้อที่ 153,734 ไร่ หรือร้อยละ 1.97 ของเนื้อที่จังหวัด โดยการใช้

               ประโยชน์ในพื้นที่แต่ละประเภทมีรายละเอียด (ภาพที่ 13 และตารางที่ 13) ดังนี้
                     2.13.1 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่  312,025 ไร่ หรือร้อยละ 4.01 ของเนื้อที่จังหวัด
               ประกอบด้วยหมู่บ้านบนพื้นราบ สถานที่ราชการและสถาบันต่างๆ ตัวเมืองและย่านการค้า โรงงานอุตสาหกรรม
               ถนน สุสาน ป่าช้า หมู่บ้านชาวไทยภูเขา สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สนามกอล์ฟ ลานตากและแหล่งรับซื้อ

               ทางการเกษตร รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ หมู่บ้าน/ที่ดินจัดสรรร้าง โรงงานอุตสาหกรรมร้าง สนามบิน
               สถานที่ร้าง(รีสอร์ท,ค่ายเยาวชนร้าง) สถานีบริการน้ ามัน สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ ร้าง และสถานีรถไฟ
                           1) ตัวเมืองและย่านการค้า (U1) มีเนื้อที่  29,026 ไร่ หรือร้อยละ 0.37 ของเนื้อที่จังหวัด
               ประกอบด้วยตัวอ าเภอวังเหนือ อ าเภอเมืองปาน อ าเภอแจ้ห่ม อ าเภองาว อ าเภอห้างฉัตร อ าเภอเมืองล าปาง

               อ าเภอแม่เมาะ อ าเภอเกาะคา อ าเภอแม่ทะ อ าเภอเสริมงาม อ าเภอสบปราบ อ าเภอเถิน และอ าเภอแม่พริก
                           2) หมู่บ้าน (U2) มีเนื้อที่รวม 211,707 ไร่ หรือร้อยละ 2.71 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ หมู่บ้านบนพื้นราบ
               มีเนื้อที่ 208,206 ไร่ หรือร้อยละ 2.66 ของเนื้อที่จังหวัด หมู่บ้านชาวไทยภูเขา มีเนื้อที่ 2,724 ไร่ หรือร้อยละ
               0.04 ของเนื้อที่จังหวัด โดยส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนซึ่งกระจายตัวอยู่ทั่วไปในทุกอ าเภอ

                           3) สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ (U3) มีเนื้อที่ 39,701 ไร่ หรือร้อยละ 0.51 ของเนื้อที่
               จังหวัด ได้แก่ สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ เช่น หอประวัติศาสตร์นครล าปาง วิทยาลัยเทคนิคล าปาง
               และอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน เป็นต้น
                           4) สถานีคมนาคม (U4) มีเนื้อที่ 7,317 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด เส้นทางคมนาคม

               ที่ส าคัญ ได้แก่ ถนน สนามบิน และสถานีรถไฟ เป็นต้น
                           5) ย่านอุตสาหกรรม (U5) มีเนื้อที่ 16,763 ไร่ หรือร้อยละ 0.22 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ โรงงาน
               อุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร และโรงงานอุตสาหกรรมร้าง เป็นต้น

                           6) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ (U6) มีเนื้อที่ 6,322 ไร่ หรือร้อยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด
               ประกอบด้วยสุสาน ป่าช้า สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ สถานที่ร้าง (รีสอร์ท,ค่าย
               เยาวชนร้าง) และสถานีบริการน้ ามัน เป็นต้น
                           (7) สนามกอล์ฟ  (U7)  มีเนื้อที่ 1,128 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด พบในอ าเภอแม่เมาะ
               และอ าเภอเมืองล าปาง

                     2.13.2 พื้นที่เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 1,777,886 ไร่ หรือร้อยละ 22.67 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย
               พื้นที่นา พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชสวน ไร่หมุนเวียน ทุ่งหญ้าและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ พืชน้ า สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า
               และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม

                           1) พื้นที่นา (A1) มีเนื้อที่ 617,715 ไร่ หรือร้อยละ 7.89 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ นาข้าว มีเนื้อที่
               610,086 ไร่ หรือร้อยละ 7.79 ของเนื้อที่จังหวัด นาร้าง มีเนื้อที่ 7,629 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด

                           2) พืชไร่  (A2)  มีเนื้อที่  631,923 ไร่ หรือร้อยละ 8.06 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ข้าวโพด
               มันส าปะหลัง ไร่ร้าง สับปะรด อ้อย ข้าวไร่ และพืชไร่อื่น ๆ
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163