Page 20 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           12







                       พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าได้ในบางช่วง ซึ่งปรากฏการณ์นี้เรียกว่าเรียกว่า หน้าต่างบรรยากาศ
                       (Atmospheric Windows) (ภาพที่ 11) ชั้นบรรยากาศเปิดให้มีการส่งผ่านพลังงานแม่เหล็ก ไฟฟ้า
                       ได้ในสามช่วงหลักๆ ช่วงแรกความยาวคลื่นตรงกับช่วงคลื่นแสงที่ตามองเห็นถึงอินฟราเรดใกล้และกลาง
                       ซึ่งสามารถใช้ตามนุษย์หรือกล้องถ่ายรูปเป็นอุปกรณ์รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องกราดภาพแบบหลายช่วงคลื่น

                       (Multispectral scanner) ก็จะสามารถตอบสนองต่อพลังงานในช่วงแคบๆ ได้หลายช่วง ช่วงที่สองจะ
                       เป็นช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่ 3 ถึง 5µm และ 8 ถึง 14µm ซึ่งอยู่ในช่วงที่ใกล้เคียงกับการปลดปล่อย
                       ความร้อนของผิวโลก ทั้งนี้ต้องใช้เครื่องกราดภาพเชิงความร้อน (Thermal scanner) และสุดท้ายช่วงเปิด
                       กว้างอีกช่วงคือประมาณ 1mm ถึง 1m ซึ่งตรงกับช่วงไมโครเวฟ และความถี่วิทยุ ซึ่งมีการน ามาใช้งาน

                       ทางด้านการถ่ายภาพด้วยเรดาร์ จากความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าและหน้าต่างชั้น
                       บรรยากาศที่เปิดออกเพื่อให้พลังงานสามารถส่งผ่านไปยังและสะท้อนมาจากพื้นผิวโลก และการ
                       ตอบสนองเชิงคลื่นของอุปกรณ์รับรู้ที่ใช้ในงานการรับรู้จากระยะไกล เราจึงต้องค านึงถึง การตอบสนอง
                       ของอุปกรณ์รับรู้ที่มีให้เลือกใช้ได้ ช่วงความยาวคลื่นที่ต้องการใช้ที่เหมาะสมกับหน้าต่างชั้นบรรยากาศ

                       แหล่งก าเนิด ขนาด และองค์ประกอบเชิงคลื่นของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงคลื่นดังกล่าว






























                       ภาพที่ 11 หน้าต่างบรรยากาศ
                       ที่มา: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Atmospheric_window_EN.svg

                                     การกระจัดกระจายในชั้นบรรยากาศเกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีการเคลื่อนที่แล้วมา
                       กระทบกับอนุภาคต่างในในชั้นบรรยากาศ เช่น แก็ส ละอองน้ า หรืฝุ่น เป็นต้น ถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้

                       ชนั้นมาชนกับอนุภาคในชั้นบรรยากาศที่มีขนาดเล็กกว่าก็สามารถเคลื่นที่ผ่านไปได้ แต่หากวอนุภาคในชั้น
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25