Page 240 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 240

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           217



                               2) M2 พื้นที่ลุม (Marsh and Swamp) หมายถึง พื้นที่ทีมีนํ้าปกคลุมตังแต 3-6 เดือนตอป
               เปนพื้นที่ที่พืชเฉพาะกลุมปกคลุม โดยมีความสูงต่ํากวา 3 เมตร โดยใหรวมถึงปาบุง-ปาทาม ซึ่งเปนภูมิสัณฐาน

               พื้นที่ราบลุมน้ําทวมถึงในฤดูฝนที่เกิดชวงน้ําหลากไหลลนทวมทนฝงแมน้ํา น้ําจะไหลมาทวมพื้นที่ลุมริมฝงน้ําแผ
               ออกเปนบริเวณกวาง พบทั่วไปในบริเวณชายฝงลําน้ําซึ่งเปนที่ราบลุมน้ําทวมในฤดูฝน โดยเฉพาะในเขตลําน้ํา
               สงคราม ซึ่งอยูในเขตจังหวัดสกลนคร นครพนม หนองคาย จะพบพื้นที่ปาบุงหลายแหง บางแหงจะเปนพื้นที่
               กวางใหญนับเปนพันไร ในบริเวณที่เปนพื้นที่ปาบุงที่สําคัญคือ ปาบุงปาทามบานดงสาร ตําบลโพนงาม อําเภอ

               อากาศอํานวย จังหวัดสกลนคร โดยชวงฤดูแลงปาชนิดนี้จะมีนิเวศเปนปาบกทนแลง แตเมื่อถึงฤดูน้ําหลากปา
               บุง ปาทามจึงถูกน้ําทวมขัง ลักษณะเดนของพืชพรรณในปาชนิดนี้คือ มีไมพุมหนามขนาดเล็กที่ทนการแชขัง
               ของน้ําอยูมาก และไมขนาดใหญขึ้นกระจายอยูหาง ๆ กัน โครงสรางของปาบุง ปาทาม สามารถแบงเปน  3
               ประเภทใหญ ๆ เพราะพื้นที่ไมเสมอกัน ประเภทแรกเปนปาที่ถูกน้ําทวมในชวงเวลาน้ําขึ้นสูง ไดแก ปาริมขอบ

               ลําน้ํา มีไมเดนหลายชนิด เชน หวา ควงฮุง กระโดนน้ํา ประเภทสุดทายเปนปาบุง ปาทามที่มีน้ําทวมขังตลอดป
               ชนิดของพรรณไมเปนพวกที่ปรับตัวใหเหมาะสมตออิทธิพลของกระแสน้ํา เชน กก ผือ จอก แหน กระจับ
               สาหราย และบัวสาย ซึ่งเปนแหลงขยายพันธุและอนุบาลตัวออนของสัตวตาง ๆ เนื่องจากมีไมพุมหนามอยู
               (ภาพที่ 296-298)





































               ภาพที่ 296  พันธุไมบริเวณที่ลุมริมน้ํา อําเภอพนา จังหวัดอํานาจเจริญ บันทึกภาพเมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245