Page 231 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 231

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           208



               ชายฝงจะมีลําตนหงิกงอ และเอนไปทางดานใตลมและความสูงจะคอยๆ เพิ่มขึ้นเมื่ออยูหางออกไปจากชายฝง
               หากมองดานตัดจะคลายรูปสามเหลี่ยมชายธง (จํานง, 2542) โดยจะมีสภาพเปนปาโปรง สวนใหญเปนตนไม

               ขนาดเล็ก ไมตนขนาดใหญ มักจะแตกกิ่งต่ําระเกะระกะ เรือนยอดแผกวาง ตนคอนขางเตี้ย ไมตนขนาดใหญใน
               ปาชายหาดที่มีขนาดสูงตรง ไดแก สนทะเล Casuarina equisetifolia (Casuarinaceae) พบขึ้นเปนกลุมตาม
               ชายหาดที่ไมถูกรบกวนมากนัก ไมตนชนิดอื่น เชน กระทิงหรือสารภีทะเล Calophyllum inophyllum
               (Guttiferae),  ปอทะเล Hibiscus tiliaceus,  โพทะเล Thespesia populnea  (Malvaceae),  หูกวาง

               Terminalia catappa  (Combretaceae),  เทียนทะเล Pemphis  acidula (Lythraceae),  โกงกางหูชาง
               Guettarda speciosa (Rubiaceae), ตีนเปดทราย Cerbera manghas (Apocynaceae), เมา Syzygium
               grande (Myrtaceae),  จิกทะเล Barringtonia asiatica  (Lecythidaceae),  งาไซ Pouteria obovata
               (Sapotaceae),  หมันทะเล Cordia subcordata (Boraginaceae),  ตะบัน Xylocarpus rumphii

               (Meliaceae),  โพกริ่ง Hernandia nymphaeifolia  (Hernandiaceae),  หยีทะเล Derris  indica
               (Leguminosae-Papilionoideae) (ธวัชชัย, 2555) (ภาพที่ 283)


































               ภาพที่ 282  การแบงประเภทปาบริเวณริมทะเล
                           (ที่มา : https://www.facebook.com/DNP1362/photos/a.1608134926168076/19461

                           84559029776/?type=3&theater)
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236