Page 113 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 113

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           90



                                   - A311 ไมชายเลน (Mangrove) ซึ่งเปนไมพุมที่ทนตอความเค็มของน้ําทะเล มีราก
               อากาศและระบบรากที่ทําใหสามารถดํารงชีวิตอยูในดินที่มีสภาพขาดออกซิเจนได นอกจากนั้น ยังพบพันธุไม

               ชนิดอื่น ๆ อาศัยอยูรวมกันเปนจํานวนมาก ปาชายเลนเปนบริเวณเชื่อมตอจากปาบก จึงพบพันธุไมหลาย
               ชนิดจากบนบกที่อยูรวมกับปาชายเลน และพันธุไมจะขึ้นอยูในลักษณะเปนเขตแนวของแตละชนิด โดยมีแบบ
               แผนแนนอน พันธุไมปาชายเลนที่พบไดทั่วไป ไดแก โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ (Rhizophora sp.)
               (ภาพที่ 122) ซึ่งเปนพันธุไมสําคัญที่พบมากในปาชายเลน ตรงโคนตนแตกรากค้ําจุนมาก ฝกมีขนาดเล็กยาว

               ประมาณ 30 เซนติเมตร เมื่อรวงหลนลงสูพื้นจะปกดินและงอกขึ้นมาเปนตนโกงกาง ทั้งสองชนิดมักขึ้นอยูริม
               ชายฝงของเขตแนวปาดานนอก แสมขาว (Avicennia alba) (ภาพที่ 123) พันธุไมปาชายเลนที่พบมากอีก
               ชนิดหนึ่ง ลักษณะตนสูงใหญ ตรงโคนตนมีรากอากาศโผลพนพื้นดันขึ้นมาเปนเสนขนาดยาวประมาณ 10-20
               เซนติเมตร ดอกมีขนาดเล็กสีเหลือง กลิ่นหอม ผลมีรูปรางกลมรีคลายผลมะมวงขนาดเล็ก เมื่อหลนลงสูพื้นจึง

               งอกขึ้นเปนตนใหม หรือถูกพัดพาไปกับน้ําทะเล ประสัก หรือ พังกาหัวสุม (Bruguiera  gymnorrhiza)
               (ภาพที่ 124) ใบมีผิวเรียบมัน ดอกประสักมีกลีบเลี้ยงสีแดง ผลมีการงอกของเมล็ดตั้งแตยังอยูบนตน ลักษณะ
               เปนทอนยาวประมาณ 12  เซนติเมตร เมื่อรวงหลนปกลงบนพื้นดินโคลน จะงอกรากและเจริญเปนตน ลําพู
               (Sonneratia caseolaris) (ภาพที่ 125) ลําตนคอนขางกลมมีกิ่งเกิดในแนวตั้ง เจริญทางดานขางมากกวา

               ทางยอด เมื่อลําตนแตกหักจะสรางกิ่งใหมขึ้นไดเนื่องจากมีตาสํารองอยูเปนจํานวนมาก ลักษณะใบเปนใบ
               เดี่ยวขนาดเล็ก สีเขียว ขอบใบเรียบ แตกใบตรงกันขามกันเปนคู มีกานใบสีชมพูมองเห็นแตไกล ดอกเปนดอก
               เดี่ยวออกบริเวณปลายยอด ลักษณะผลแกมีเปลือกหนาสีเขียวอมเหลือง เนื้อออนนุม ภายในมีเมล็ดจํานวน

               มาก ประมาณ 1,000  ถึง 2,500  เมล็ด ผลลําพูแกมีกลิ่นแรง จะรวงหลนระหวางเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
               เปนพืชที่รับประทานได จาก (Nypa frutican) (ภาพที่ 126) พืชจําพวกปาลมที่พบขึ้นอยูหนาแนนบริเวณริม
               ฝงคลองของปาชายเลนหรือบริเวณน้ํากรอย ชาวประมงนิยมนําใบจากไปมุงหลังคาบาน ผลลักษณะเปน
               ทะลาย แทงขึ้นมาจากกอ ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum) (ภาพที่ 127) ลักษณะโคนตนมีรากแผ
               ออกเปนพูพอนขนาดใหญ ผลมีขนาดและรูปรางคลายมะตูม เมื่อผลแหงจะแตกออกมีเมล็ดขนาดใหญอยู

               ภายใน โปรง (Ceriops tagal) (ภาพที่ 128) ลําตนตั้งตรงขนาดสูงประมาณ 5  เมตร เมื่อติดผลมีลักษณะ
               คลายคลึงกับฝกโกงกางใบเล็ก ตนโปรงจะขึ้นอยูบนพื้นดินที่คอนขางแข็งในเขตเดียวกับตะบูน ตาตุมทะเล
               (Excoecaria agallocha) (ภาพที่ 129) พบขึ้นปะปนอยูกับตนฝาด สังเกตตนตาตุมไดเมื่อใบแกจะ

               เปลี่ยนเปนสีสมแดงกอนที่จะรวงหลน ฝาดดอกแดง (Lumnitzera littorea) (ภาพที่ 130) ขนาดตนใหญ ลํา
               ตนสีดํา ใบเล็ก อวบน้ํา ดอกออกเปนชอสีแดง ออกดอกชุกในชวงฤดูฝน เสม็ด (Melaleuca
               leucadendron) (ภาพที่ 131) ดอกเปนชอสีขาว สวนใหญของพื้นที่ปาเสม็ดจะมีน้ําทวมถึงเฉพาะชวงน้ําเกิด
               ในฤดูหนาวเทานั้น
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118