Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนราธิวาส
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               30







                       ฉะนั้นควรสร้างความตระหนักให้เกษตรกร เน้นการท าการเกษตรแบบผสมผสาน หรือการเข้าร่วม
                       โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ หรือวนเกษตร เพื่อท าให้เกษตรกรสามารถใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่ามากที่สุดต่อไป

                         4.2  ข้าว
                             1) พื นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่ 25,687 ไร่

                       มีพื้นที่ปลูกในเขตอ าเภอยี่งอ อ าเภอบาเจาะ อ าเมืองนราธิวาส อ าเภอระแงะ ตามล าดับ
                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดเห็นควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นแหล่งผลิต

                       ข้าวที่ส าคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ าชลประทาน การจัดการดิน ปุ๋ย พันธุ์ข้าว มีการ

                       รวมกลุ่มเป็นเกษตรแปลงใหญ่ พัฒนาต่อยอดครบวงจรด้านการตลาดในและต่างประเทศ การแปรรูป
                       แหล่งทุน มีภาครัฐสนับสนุนการท ามาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

                       (Good Agricultural Practices : GAP) และเนื่องจากเป็นพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะ
                       ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น และเป็นการปรับปรุงบ ารุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจ

                       กับเกษตรกรโดยแนะน าว่าพื้นที่นี้เป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวจึงไม่ควรปรับเปลี่ยนไป

                       ปลูกพืชชนิดอื่น หากข้าวราคาไม่ดีถ้าต้องการเปลี่ยนชนิดพืชควรเป็นพืชไร่ เพื่อที่ในอนาคตจะกลับมา
                       ท านาได้อีก

                             2) พื นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่

                       50,132 ไร่ อยู่ในเขตอ าเภอตากใบ อ าเภอรือเสาะ อ าเภอเมืองบาเจาะ และอ าเภอระแงะ ตามล าดับ
                       ควรสนับสนุนด้านการบริหารจัดการน้ า เช่น ชลประทาน จะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน

                       ปัญหาการทิ้งถิ่นฐานไปท างานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมส าหรับการเกษตร
                       แบบผสมผสาน เกษตรแม่นย าหรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น และภาครัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจกับ

                       เกษตรกรโดยแนะน าว่าไม่ควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากข้าวราคาไม่ดีและต้องการปรับเลี่ยนการ

                       ผลิตควรเป็นพืชไร่ เพื่อที่ในอนาคตยังสามารถกลับมาท านาได้อีก
                             3) พื นที่ปลูกข้าวที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกรยังคงใช้ที่ดิน

                       ปลูกข้าวอยู่ ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม โดยสนับสนุน

                       การปรับโครงสร้างที่ดิน ปรับปรุงบ ารุงดิน สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความ
                       เหมาะสม และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเข้าโครงการ

                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้
                       ใช้พื้นที่ปลูกข้าว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน เช่น อ้อยโรงงาน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเป็นพืชไร่

                       ในอนาคตข้าวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกข้าวได้เหมือนเดิม หากเกษตรกรปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น
                       การกลับมาปลูกข้าวอาจเป็นเรื่องยาก ดังนั้นควรส่งเสริมในเรื่องของการท าเกษตรรูปแบบอื่น เช่น

                       ท าการเกษตรแบบผสมผสาน ทดแทน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40