Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสระบุรี
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
22
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
819 5,093 14 62,865 68,791
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 128 11 139
เมืองสระบุรี - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.51%) (0.02%) (0.20%)
819 4,965 5,784
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(100.00%) (97.49%) (8.41%)
53,383 53,383
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
หนองแซง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
34,037 34,037
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
ดอนพุด พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - - 10 10
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.03%) (0.03%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
15,404 541,395 152,460 828,223 1,537,482
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,652 117,359 42,550 7,628 169,189
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (10.72%) (21.68%) (27.91%) (0.92%) (11.00%)
13,752 424,036 - - 437,788
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(89.28%) (78.32%) - - (28.47%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร
ส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่อ้อยโรงงาน (S3) 23,709 ไร่
ข้าว (S3+N) 17,450 ไร่ และพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง (S3) 3,330 ไร่ (ตารางที่ 8)