Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสระบุรี
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
ตารางที่ 3 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
35 336,073 336,108
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
มวกเหล็ก พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - 35 - 35
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (100.00%) (0.01%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
8,068 3,260 114,995 126,323
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พระพุทธ พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 6,233 - 3,260 288 9,781
บาท เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (77.26%) (100.00%) (0.25%) (7.74%)
1,835 1,835
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(22.74%) (1.45%)
345 52 132,272 132,669
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 52 1 53
วังม่วง - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (100.00%) (0.00%) (0.04%)
345 345
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(100.00%) (0.26%)
470,692 146,373 65,670 1,023,859 1,706,594
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 327,843 75,552 16,261 1,221 420,877
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (69.65%) (51.62%) (27.76%) (0.12%) (24.66%)
142,849 70,821 213,670
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(30.35%) (48.38%) (12.52%)
ทั้งนี้ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร
พิจารณาส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (N)
4,393 ไร่ ปลูกอ้อยโรงงาน (S3) 3,237 ไร่ และพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง (S3) 1,453 ไร่ แต่เนื่องจาก