Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครปฐม
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                                  (1) สันดินริมน้ า (Levee) เป็นที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ าพาบริเวณริมฝั่ง
                       แม่น้ า เป็นสันนูนขนานไปกับริมฝั่งแม่น้ า การระบายน้ าค่อนข้างดีถึงดี เนื้อดินค่อนข้างหยาบ อาทิ
                       ชุดดินท่าม่วง (Tm)
                                  (2) ลุ่มหลังสันดินริมน้ า (Back swamp, basin) เป็นที่ลุ่มน้ าขังอยู่ระหว่างสันดินริมน้ า

                       กับตะพักล าน้ าหรือด้านข้างหุบเขา ดินมีการระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว เนื้อดินละเอียด อาทิ ชุดดิน
                       ราชบุรี (Rb)
                             3) ที่ราบตะกอนน้ าพา (Alluvial plain) เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของแม่น้ าหรือล าน้ า
                       สาขา วัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบขนาดใหญ่สองฝั่งแม่น้ า

                       แต่ละฝั่งอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักได้หลายระดับ แบ่งเป็น
                                  (1) ตะพักล าน้ าระดับต่ า (Low  terrace)  เป็นที่ลุ่ม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
                       เนื้อดินอาจเป็นดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแป้งละเอียด สีเทา น้ าตาลปนเทา และน้ าตาล มีจุดประ
                       สีต่างๆ ดินมีการระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว เช่น ชุดดินนครปฐม (Np) ชุดดินสระบุรี (Sb) เป็นต้น

                               (2) เนินตะกอนน้ าพารูปพัด (Alluvial fan) เป็นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึง
                       ลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึกมาก เนื้อดินเป็นดินร่วนหยาบถึงดินทรายแป้งละเอียด สีน้ าตาล เหลือง
                       จนถึงแดง ดินมีการระบายน้ าดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินก าแพงแสน (Ks)

                               ซึ่งได้แสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดนครปฐม (ภาพที่ 1 - 5)
                         1.5  สภาพการใช้ที่ดิน

                             สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบันของจังหวัดนครปฐม จากฐานข้อมูลแผนที่สภาพการใช้ที่ดินของ
                       กรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)

                         1.6  พื้นที่ชลประทาน
                             จังหวัดนครปฐมมีเนื้อที่ชลประทาน 877,573.43 ไร่ (ร้อยละ 64.76 ของพื้นที่จังหวัด)
                       กระจายอยู่ในทั้ง 7 อ าเภอของจังหวัด (ตารางผนวกที่ 2)


                         1.7  เขตปฏิรูปที่ดิน
                             เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 10,174 ไร่ (ร้อยละ 0.75 ของพื้นที่
                       จังหวัด) โดยอ าเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอบางเลน รองลงมา คือ อ าเภอ
                       พุทธมณฑล (ตารางผนวกที่ 3)

                         1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                             จากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร จังหวัดนครปฐมมีการขึ้น
                       ทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ทั้งหมดในปี พ.ศ. 2563 จ านวน 64,153 ราย รวมเนื้อที่
                       608,827 ไร่ ส าหรับพื้นที่ด าเนินการแต่ละกิจกรรมที่มีเนื้อที่รวมกันมากกว่า 1,000 ไร่ มีจ านวน 26
                       กิจกรรม จ านวนเกษตรกร 51,727 ราย รวมเนื้อที่ 583,328 ไร่ และกิจกรรมที่มีเนื้อที่ด าเนินการมาก

                       ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง กุ้งน้ าจืด อ้อยโรงงาน กล้วยไม้ มะพร้าว ตามล าดับ (ตารางผนวกที่ 4)
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14