Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24







                       ตารางที่ 5 (ตอ)
                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                           เขต         ประเภทพื้นที่
                                                                S1          S2          S3           N         รวม

                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน    -          -         -        871       871

                                   พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
                        สัมพันธวงศ                            -          -         -          -         -
                                   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
                                   พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ     -          -         -          -         -

                                                                     84,772              894,828    979,600
                                   พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน     -                    -
                                                                  (100.00%)            (100.00%)  (100.00%)
                                                                                            353
                                                                      3,251
                                                                                                      3,604
                       รวมทั้งจังหวัด   พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   -   (3.83%)     -    (0.04%)    (0.37%)
                                   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
                                   พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ     -     81,521         -          -     81,521
                                                                   (96.17%)                         (8.32%)


                                  4) แนวทางการจัดการ

                                     พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมะพราว มีตนทุนที่ต่ํา
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                         2.3 ปาลมน้ํามัน

                           ปาลมน้ํามันพืชเศรษฐกิจรองลงมาจากขาวและมะพราวของกรุงเทพมหานคร จากฐานขอมูล
                       ในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 6 และภาพที่

                       9 - 10)

                                  1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามัน พบเพียงพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                       เล็กนอย (S3) และพื้นที่ไมเหมาะสม (N) เทานั้น มีรายละเอียดดังนี้

                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 179,653 ไร คิดเปนรอยละ
                       18.33  ของพื้นที่ศักยภาพของดิน กระจายอยูในเขตหนองจอก  91,641 ไร เขตลาดกระบัง 43,685 ไร

                       และเขตมีนบุรี 19,214 ไร เปนตน

                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)  มีเนื้อที่ 800,283 ไร คิดเปนรอยละ 81.67
                       ของพื้นที่ศักยภาพของดิน กระจายอยูในเขตบางขุนเทียน 79,676 ไร เขตคลองสามวา 71,320 ไร และ

                       เขตหนองจอก 54,984 ไร เปนตน

                                  2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันในปจจุบัน คือพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันในปจจุบัน
                       จําแนกตามชั้นความเหมาะสมตาง ๆ    โดยกรุงเทพมหานครพบเพียงพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่
                       เหมาะสมเล็กนอย (S3) กับพื้นที่ไมเหมาะสม (N) เทานั้น มีรายละเอียดดังนี้
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36