Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                4







                       ตารางที่ 2 พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 3 ลําดับแรกของกรุงเทพมหานคร
                                พืชเศรษฐกิจ                   เนื้อที่ (ไร)    รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                          113,036                     48.84

                             2. มะพราว                          3,604                     1.56
                             3. ปาลมน้ํามัน                        289                    0.13
                       ที่มา: https: agri-Map online.moec.go.th, 2564


                         2.1 ขาว


                              ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของกรุงเทพมหานคร จากสภาพพื้นที่เปนที่ราบลุม มีระบบ
                       ชลประทานที่สมบูรณความเหมาะสมตอการปลูกขาว เกษตรกรนิยมทํานาขาวปละ 2 ครั้ง คือ ขาวนาป
                       และขาวนาปรัง จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online  สามารถวิเคราะห
                       ขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 5 - 6)

                                  1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว พบเพียงพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)

                       เหมาะสมปานกลาง (S2) และไมเหมาะสม (N) เทานั้น มีรายละเอียดดังนี้
                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ศักยภาพสูง (S1) มีเนื้อที่ 251,900 ไร คิดเปนรอยละ 25.77 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในเขตหนองจอก 96,733 ไร เขตลาดกระบัง 44,270 ไร และ
                       เขตคลองสามวา 41,650 ไร เปนตน

                                     ระดับที่ 2  เปนพื้นที่ศักยภาพปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 47,932 ไร คิดเปนรอยละ 4.90
                       ของพื้นที่ศักยภาพของดิน กระจายตัวมากอยูในเขตหนองจอก 15,664 ไร เขตสายไหม 11,819 ไร และเขต
                       คลองสามวา 5,808 ไร เปนตน
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) (4) มีเนื้อที่ 677,440 ไร


                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน คือพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบันจําแนกตามชั้น
                       ความเหมาะสมตาง ๆ โดยกรุงเทพมหานครมีพื้นที่ปลูกขาวในพื้นที่เหมาะสมสูง (S1)  เทานั้น พื้นที่
                       ปลูกขาวทั้งหมด 113,036 ไร คิดเปนรอยละ 44.87 ของพื้นที่ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยูในเขต
                       หนองจอก 66,244 ไร เขตคลองสามวา 20,004 ไร และเขตลาดกระบัง 18,206 ไร เปนตน
                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสม
                       ตางๆ (ปลูกจริง) พบวากรุงเทพมหานครมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
                       ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 186,797 ไร  โดยเขตที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมาก

                       ที่สุด ไดแก  เขตหนองจอก 46,153 ไร รองลงมาไดแกเขตคลองสามวา 27,454 ไร เขตลาดกระบัง
                       26,387 ไร และเขตมีนบุรี 17,863 ไร เปนตน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
                                     (1)  พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 138,864 ไร คิดเปนรอยละ 55.13
                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยูในเขตหนองจอก 30,489 ไร เขตลาดกระบัง 26,064 ไร

                       และเขตคลองสามวา 21,646 ไร เปนตน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16