Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12







                               4) แนวทางการจัดการ
                                 (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
                       เกษตรกรปลูกข้าวต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้
                       เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น

                                 พื้นที่ปลูกข้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกข้าวในที่ดินที่ไม่มี
                       ข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกข้าว ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส าคัญของจังหวัด

                       โดยกระจายอยู่ในอ าเภอเมืองอุดรธานี อ าเภอกุดจับ และอ าเภอเพ็ญ เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกข้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูกข้าวในที่ดินที่มี

                       ข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกข้าว เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง
                       และแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบ้านดุง อ าเภอเพ็ญ และอ าเภอหนองหาน เป็นต้น
                                 (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน

                       ให้เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า
                       โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                           2.2  อ้อยโรงงาน

                               อ้อยโรงงานพืชเศรษฐกิจหลักของอุดรธานีในล าดับที่ 2 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิง
                       รุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูก
                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 158,952 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.66

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านดุง 64,466 ไร่ อ าเภอบ้านผือ 23,656 ไร่ และ
                       อ าเภอทุ่งฝน 22,753 ไร่
                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 2,861,526 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       47.91 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ 353,200 ไร่ อ าเภอวังสามหมอ

                       280,210 ไร่ และอ าเภอศรีธาตุ 278,461 ไร่
                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 96,365 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.61
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ 46,490 ไร่ อ าเภอน้ าโสม 27,782 ไร่ และ

                       อ าเภอนายูง 12,123 ไร่
                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,855,965 ไร่
                               2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดิน ได้ดังนี้
                                 (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 36,948 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 23.24 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ 11,781 ไร่ อ าเภอบ้านดุง 9,494 ไร่ และอ าเภอหนองหาน
                       5,033 ไร่
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24