Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอำนาจเจริญ
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9







                       ตารางที่4  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตข้าว


                                               มันส าปะหลัง (ไร่)                 ยางพารา (ไร่)
                            อ าเภอ
                                         S3          N          รวม         S3        N         รวม

                         พนา               114       -           114         19        -         19
                         ชานุมาน         1,824       -         1,824        263        -        263

                         ลืออ านาจ          93       -            93         81        -         81
                         หัวตะพาน          345       -           345         85        -         85
                         เสนางคนิคม        361       -           361          7        -          7

                         ปทุมราชวงศา       728       -           728        279        -        279
                         เมืองอ านาจเจริญ  1,578     -         1,578        551        -        551

                             รวม         5,043       -         5,043      1,285        -      1,285

                               4.) แนวทางการจัดการ
                                  (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุน

                       ให้เกษตรกรปลูกข้าวต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและ
                       ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่
                       ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ หรือเกษตรแม่นย า เป็นต้น

                                  พื้นที่ปลูกข้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกข้าวในที่ดินที่ไม่มี
                       ข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกข้าว ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส าคัญของจังหวัด กระจาย
                       อยู่ในอ าเภอหัวตะพาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ อ าเภอเสนางคนิคม เป็นต้น
                                  พื้นที่ปลูกข้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกข้าวในที่ดินที่มี
                       ข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกข้าว เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็น

                       ด่าง และแหล่งน้ า กระจายอยู่ในเมืองอ านาจเจริญ อ าเภอหัวตะพาน และอ าเภอปทุมราชวงศา เป็นต้น
                                  (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้เข้า
                       โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า

                       โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                           2.2    มันส าปะหลัง
                             มันส าปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจหลักหลักในล าดับที่ 2 ของจังหวัดอ านาจเจริญ จากฐานข้อมูล
                       ในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกมันส าปะหลัง
                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 13,877 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.81 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในเมืองอ านาจเจริญ 4,596 ไร่ อ าเภอหัวตะพาน 4,285 ไร่ และ

                       อ าเภอชานุมาน 1,616 ไร่
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21