Page 48 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               41







                       ชุดดิน               โพนพิสัย          Series  Pp                         กลุมชุดดินที่ 49
                       สภาพพื้นที่          คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 1 - 12 %
                       ภูมิสัณฐาน           พื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)
                       วัตถุตนกำเนิดดิน     การสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินตะกอนสองยุค (ทรายหรือเหนียว) หรือ

                                            ตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมาทับถมอยูบนหินตะกอนเนื้อ
                                            ละเอียด
                       การระบายน้ำ          ดีปานกลาง
                       การซึมผานไดของน้ำ  ปานกลางถึงชา            การไหลบาของน้ำบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็ว

                       ลักษณะสมบัติของดิน  เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน
                                            สีน้ำตาลปนเทาเขม ดินลางตอนบน เปนดินรวนเหนียวปนทรายถัดไปเปน
                                            ดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดหรือดินเหนียวปนกรวดมาก มีสีน้ำตาลหรือ
                                            น้ำตาลแก สวนดินลางภายใน 50 - 100 เซนติเมตร เปนดินรวนเหนียวปน

                                            กรวดมากหรือดินเหนียวปนกรวดมากถัดไปจะเปนชั้นดินเหนียวตลอด มีสีเทา
                                            ปนน้ำตาลออนหรือสีเทาออน มีจุดประสีแดงของศิลาแลงออน (plinthite)
                                            และน้ำตาลแกหรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรด

                                            เล็กนอย (pH 5.0-6.5) ในดินบน และเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด
                                            (pH 4.5-5.5) ในดินลาง
                       ขอจำกัด             เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง เนื้อดินบนคอนขางเปนทราย
                       ขอเสนอแนะ           กรณีที่ใชปลูกพืชไร ควรเลือกพืชที่มีรากสั้น เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วเขียว
                                            และอื่น ๆ สวนกรณีที่ใชปลูกไมผลหรือไมยืนตน ควรขุดหลุมปลูกใหมี

                                            ขนาดไมเล็กกวา 75x75x75 เซนติเมตร แลวนำหนาดินหรือดินจากที่อื่น
                                            มาผสมกับปุยอินทรีย ใสลงในหลุมปลูก อัตราประมาณ 20 - 30 กิโลกรัมตอหลุม
                                            เมื่อผสมแลวนำกลับลงไปในหลุมกอนที่จะปลูกไมผลหรือไมยืนตน


                           สมบัติทางเคมี   ความลึก  อินทรียวัตถุ   ความจุ  ความอิ่มตัว  ฟอสฟอรัส  โพแทสเซียม  ความอุดม
                                                          แลกเปลี่ยน   เบส       ที่เปน   ที่เปน   สมบูรณของ
                                         (ซม.)            แคตไอออน             ประโยชน   ประโยชน      ดิน

                                         0-25      ต่ำ       ต่ำ       ต่ำง       ต่ำ       สูง         ต่ำ

                                        25-50      ต่ำ       ต่ำ        ต่ำ       ต่ำ       สูง         ต่ำ

                                        50-100     ต่ำ     ปานกลาง      สูง       ต่ำ       สูง      ปานกลาง








                       ภาพที่ 4  หนาตัดดินและคำบรรยายชุดดินโพนพิสัย
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53