Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                       ผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันส าปะหลังในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการ
                       ที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น

                                   พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
                       มันส าปะหลังในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกมันส าปะหลังซึ่งควรสงวนไว้เป็น

                       แหล่งปลูกมันส าปะหลังที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอส่องดาว อ าเภอภูพาน และ

                       อ าเภอโคกศรีสุพรรณ เป็นต้น
                                   พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       มันส าปะหลังในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกมันส าปะหลัง เช่น ความอุดม-
                       สมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น โดยกระจายอยู่ในอ าเภอพรรณานิคม

                       อ าเภอโคกศรีสุพรรณ และอ าเภอส่องดาว เป็นต้น

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
                       เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกมันส าปะหลัง

                       มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                           2.4  อ้อยโรงงาน

                               อ้อยโรงงานเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของสกลนครในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่

                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกอ้อยโรงงาน

                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 78,955 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.61
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอบ้านม่วง 31,103 ไร่ อ าเภอโคกศรีสุพรรณ 26,218

                       ไร่ และอ าเภออากาศอ านวย 13,071 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,153,050 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       23.50 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอสว่างแดนดิน 225,484 ไร่ อ าเภอพรรณานิคม

                       119,359 ไร่และอ าเภอเมืองสกลนคร 108,381 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 1,543,032 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       31.45 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอวานรนิวาส 439,522 ไร่ อ าเภอบ้านม่วง
                       209,328 ไร่ และอ าเภอเจริญศิลป์ 154,629 ไร่

                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,130,568 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานในปัจจุบัน จ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้

                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 3,327 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.21 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากในอ าเภอส่องดาว 1,466 ไร่ อ าเภอบ้านม่วง 1,450 ไร่ และอ าเภอภูพาน 133 ไร่
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35