Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
18
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพื้นในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 283,030 ไร่
มันส าปะหลัง (S3+N) 108,569 ไร่ โดยอ าเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตอ้อยโรงงาน (ตารางที่ 6)
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยาพารา
ข้าว (ไร่) มันส าปะหลัง (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กุดบาก 17,502 587 18,089 15,137 - 15,137
กุสุมาลย์ - - - 27.92 - 28
ค าตากล้า 5,766 1,157 6,923 781 - 781
โคกศรีสุพรรณ 16,685 2,412 19,097 1,996 - 1,996
เจริญศิลป์ 546 - 546 5 - 5
เต่างอย 6,395 869 7,264 5,654 - 5,654
นิคมน้ าอูน 14,106 250 14,356 2,452 - 2,452
บ้านม่วง 16,713 - 16,713 6,975 - 6,975
พรรณานิคม 32,442 1800 34,242 12,793 - 12,793
พังโคน 15,700 45.79 15,746 2,306 - 2,306
โพนนาแก้ว - - - - - -
ภูพาน 4,825 3,247 8,071 27,357 - 27,357
เมืองสกลนคร 33,236 526.67 33,763 4,629 - 4,629
วานรนิวาส 987 - 987 57 - 57
วาริชภูมิ 19,381 181 19,562 5,597 - 5,597
สว่างแดนดิน 50,887 2,636 53,523 9,659 - 9,659
ส่องดาว 15,571 7,797 23,367 11,064 - 11,064
อากาศอ านวย 10,781 - 10,781 2,080 - 2,080
รวม 261,522 21,508 283,030 108,569 - 108,569
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิต
ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการ
ที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น