Page 44 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 44
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
37
ชุดดิน ทัพทัน Series Tht กลุมชุดดินที่ 22
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
ภูมิสัณฐาน ตะพักลำน้ำ
วัตถุตนกำเนิดดิน ตะกอนน้ำพาจากหินแกรนิต
การระบายน้ำ คอนขางเลว
การซึมผานไดของน้ำ ปานกลาง การไหลบาของน้ำบนผิวดิน ชา
ลักษณะสมบัติของดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ำตาลปนเทาหรือน้ำตาลปนเทา
เขม มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลเขม ดินลางเปนดินรวนปนทราย
สีเทา มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปาน
กลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ตลอดทั้งชั้นดิน
ขอจำกัด เนื้อดินคอนขางเปนทราย มีความอุดมสมบูรณต่ำ เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ำ
สำหรับพืชในฤดูเพาะปลูก
ขอเสนอแนะ ไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ ปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่ม
ผลผลิตพืชใหสูงขึ้นโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในพื้นที่ชลประทาน
นอกฤดูทำนาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดิน
ใหรวนซุยและระบายน้ำดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ และจัดหาแหลงน้ำ
สำรองในชวงฤดูแลง
สมบัติทางเคมี ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุ ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียม ความอุดม
(ซม.) แลกเปลี่ยน เบส เปน ที่เปน สมบูรณ
แคตไอออน ประโยชน ประโยชน ของดิน
0-25 ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ
25-50 ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ
50-100 ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ ต่ำ
ภาพที่ 3 หนาตัดดินและคำอธิบายชุดดินทัพทัน