Page 47 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               40








                       ชุดดิน               ทาลี่            Series Tl                            กลุมชุดดินที่ 47
                       สภาพพื้นที่          ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-20 %
                       ภูมิสัณฐาน           ตะพัก เชิงเขา เนินเขา พื้นที่เหลือคางจากการกัดกรอน
                       วัตถุตนกําเนิดดิน   การสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนัก

                                            ของหินภูเขาไฟที่เปนกลางหรือเปนดาง พวกแอนดีไซท บะซอลต หรือหิน
                                            ในกลุม
                       การระบายน้ํา         ดี
                       การซึมผานไดของน้ํา  ปานกลางถึงเร็ว                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็ว

                       ลักษณะสมบัติของดิน  เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินหนาแนนตั้งแตภายใน 50 เซนติเมตร
                                            จากผิวดิน และพบชั้นหินพื้นที่กําลังสลายตัวที่ความลึกประมาณ 80 เซนติเมตร
                                            ลงไป ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียวสีน้ําตาลเขมมากหรือ
                                            น้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)

                                            ดินลางเปนดินเหนียวปนเศษหินมาก สีน้ําตาลปนแดงหรือแดงปนเหลือง
                                            ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)
                       ขอจํากัด            เปนดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแนน ทําใหขัดขวางการเจริญเติบโตของรากพืช

                                            พื้นที่มีความลาดชัน เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของหนาดิน
                       ขอเสนอแนะ           บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนักและดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แต
                                            ตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม
                                            โดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุย
                                            อินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคง

                                            สภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา
                         สมบัติทางเคมี  ความลึก  อินทรียวัตถุ   ความจุ  ความ   ฟอสฟอรัสที่  โพแทสเซียมที่  ความอุดม
                                                        แลกเปลี่ยน  อิ่มตัวเบส   เปน  เปนประโยชน   สมบูรณ
                                      (ซม.)
                                                        แคตไอออน             ประโยชน              ของดิน
                                      0-25   ปานกลาง    ปานกลาง    ปานกลาง     สูง        สูง      ปานกลาง
                                     25-50      ต่ํา    ปานกลาง    ปานกลาง     ต่ํา       สูง      ปานกลาง

                                     50-100     ต่ํา    ปานกลาง    ปานกลาง     ต่ํา       สูง      ปานกลาง











                       ภาพที่ 4 หนาตัดดินและคําบรรยายชุดดินทาลี่
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52