Page 52 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               45








                       ชุดดิน               ลํานารายณ        Series  Ln                          กลุมชุดดินที่ 54
                       สภาพพื้นที่          คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %
                       ภูมิสัณฐาน           ตะพัก เชิงเขา เนินเขา พื้นที่เหลือคางจากการกัดกรอน
                       วัตถุตนกําเนิดดิน   การสลายตัวผุพังอยูกับที่  และ/หรือ  เคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนัก

                                            ของหินภูเขาไฟ พวกแอนดีไซท ไรโอไลท บะซอลต หรือหินในกลุม
                       การระบายน้ํา         ดี
                       การซึมผานไดของน้ํา  ปานกลาง              การไหลบาของน้ําบนผิวดิน   ชาถึงปานกลาง
                       ลักษณะสมบัติของดิน  เปนดินลึกปานกลาง ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียวคอนขาง

                                            รวนซุย สีน้ําตาลเขมหรือน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึง
                                            เปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง
                                            สีน้ําตาลปนแดงหรือแดง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)
                                            พบชั้นหินผุและกอนปูนทุติยภูมิที่ระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร

                       ขอจํากัด            ดินลึกปานกลางและพบชั้นปูนทุติยภูมิในดินลาง ซึ่งจะมีผลกระทบทาง
                                            กายภาพและทางเคมีสําหรับพืชที่มีระบบรากลึก ดินอาจขาดสมดุลของธาตุ
                                            อาหาร โดยเฉพาะการขาดฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางชนิด

                       ขอเสนอแนะ           การปลูกพืชที่มีระบบรากลึก เชน ไมผล จําเปนตองปรับปรุงสมบัติทาง
                                            กายภาพและเคมีของดินลางในเบื้องตน โดยการใชอินทรียวัตถุผสม
                                            คลุกเคลาและใชปุยเคมีโดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่ละลายชา และใหเพิ่ม
                                            จุลธาตุเมื่อพืชแสดงอาการขาด จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง

                                            เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหงและทําลายระบบรากของพืช ถามีพื้นที่พอ
                          สมบัติทางเคมี   ความลึก   อินทรียวัตถุ   ความจุ  ความอิ่มตัว  ฟอสฟอรัสที่  โพแทสเซียม  ความอุดม
                                                           แลกเปลี่ยน   เบส    เปนประโยชน   ที่เปน  สมบูรณ
                                         (ซม.)
                                                           แคตไอออน                        ประโยชน   ของดิน
                                         0-25    ปานกลาง     สูง        สูง      ปานกลาง      สูง       สูง

                                        25-50      ต่ํา      สูง        สูง      ปานกลาง      สูง    ปานกลาง

                                        50-100     ต่ํา      สูง        สูง      ปานกลาง      สูง    ปานกลาง











                       ภาพที่ 4 หนาตัดดินและคําบรรยายชุดดินลํานารายณ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57