Page 45 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               38






                       ชุดดิน               สุโขทัย           Series  Skt                           กลุมชุดดินที่ 7
                       สภาพพื้นที่          ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
                       ภูมิสัณฐาน           ตะพักลําน้ํา
                       วัตถุตนกําเนิดดิน   ตะกอนน้ําพา

                       การระบายน้ํา         คอนขางเลว
                       การซึมผานไดของน้ํา  ชา                       การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชา
                       ลักษณะสมบัติของดิน  เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนดินเหนียว หรือดินรวนเหนียวปน
                                            ทรายแปง สีน้ําตาลปนเทาเขม น้ําตาลปนเทา หรือน้ําตาลเขม ดินลางเปน

                                            ดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว มีสีน้ําตาลปนเทา หรือน้ําตาล จนถึง
                                            น้ําตาลซีด เทาออน หรือเทาปนชมพู พบจุดประสีน้ําตาลเขมและน้ําตาลปน
                                            เหลืองตลอดหนาตัดดิน สวนจุดประสีเหลืองปนแดงหรือแดงพบในชั้นดิน
                                            ลาง และพบศิลาแลงออน (plinthite) ปริมาณเล็กนอย รวมกับชั้นสะสม

                                            เหล็กและแมงกานีส ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0)
                                            ในดินบน และกรดเล็กนอยถึงเปนกลาง (pH 6.5-7.0) ในดินลาง
                       ขอจํากัด            หนาดินคอนขางแนนทึบ และมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                       ขอเสนอแนะ           ไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ เพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้นโดย
                                            ใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไร
                                            หรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น
                                            โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ
                         สมบัติทางเคมี   ความลึก   อินทรียวัตถุ   ความจุ  ความอิ่มตัว  ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียม  ความอุดม
                                                         แลกเปลี่ยน   เบส      เปน      ที่เปน  สมบูรณ
                                        (ซม.)
                                                         แคตไอออน             ประโยชน   ประโยชน   ของดิน
                                       0-25       ต่ํา      ต่ํา    ปานกลาง     ต่ํา      ต่ํา      ต่ํา

                                       25-50      ต่ํา      ต่ํา    ปานกลาง     ต่ํา      ต่ํา      ต่ํา

                                       50-100     ต่ํา      ต่ํา    ปานกลาง     ต่ํา      ต่ํา      ต่ํา













                        ภาพที่ 4 หนาตัดดินและคําบรรยายชุดดินสุโขทัย
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50