Page 43 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 43
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
36
ชุดดิน หางดง Series Hd กลุมชุดดินที่ 5
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
ภูมิสัณฐาน ที่ราบตะกอนนํ้าพา
วัตถุตนกําเนิดดิน ตะกอนน้ําพา
การระบายน้ํา เลว
การซึมผานไดของน้ํา ชา การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
ลักษณะสมบัติของดิน เปนดินเหนียวลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปน
ทรายแปง สีเทาถึงเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH
5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียว ดินเหนียว หรือดินเหนียวปน
ทรายแปง สีเทา พบจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือน้ําตาลแกตลอดหนาตัด
ดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ในบาง
พื้นที่ อาจพบชั้นทรายบางๆ แทรกสลับ ในดินชั้นลาง
ขอจํากัด เสี่ยงตอการแชขังน้ําในฤดูฝน
ขอเสนอแนะ ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มผลผลิตโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในพื้นที่
ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับ
สภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ
สมบัติทาง ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุ ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียมที่ ความอุดม
เคมี แลกเปลี่ยน เบส เปนประโยชน เปนประโยชน สมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ของดิน
0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง
50-100 ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง
ภาพที่ 2 รูปหนาตัดดินและคําบรรยายชุดดินหางดง