Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23







                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.4    ลําไย
                                ลําไยเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเชียงรายลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก

                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 -13)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกลําไย
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 423,242 ไร คิดเปนรอยละ 13.85
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 64,419 ไร อําเภอเทิง 49,687 ไร

                       และอําเภอเชียงของ 43,532 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 441,772 ไร คิดเปนรอยละ
                       14.46 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพาน 73,428 ไร อําเภอเมืองเชียงราย

                       54,322 ไร และอําเภอเชียงแสน 49,164 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 158,099 ไร คิดเปนรอยละ 5.17
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเชียงแสน 40,950 ไร อําเภอเมืองเชียงราย
                       32,190 ไร และอําเภอแมจัน 23,598 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,032,284 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกลําไยในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 48,531 ไร คิดเปนรอยละ 11.47 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเทิง 9,099 ไร อําเภอพญาเม็งราย 7,151 ไร และอําเภอแมสรวย 6,314 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 61,158 ไร คิดเปนรอยละ 13.84 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเทิง 11,347 ไร อําเภอพาน 11,268 ไร และอําเภอ
                       เมืองเชียงราย 9,325 ไร

                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 6,386 ไร คิดเปนรอยละ 4.04 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 2,196 ไร อําเภอพาน 2,019 ไร และอําเภอเทิง
                       706 ไร
                                   (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,313 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกลําไยแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกลําไย และพื้นที่ลําไยในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความ
                       เหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 755,325 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่

                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองเชียงราย 105,120 ไร รองลงมา อําเภอเชียงของ
                       85,898 ไร อําเภอพาน 75,261 ไร และอําเภอแมจัน 52,179 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35