Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12







                                  พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
                       ขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัด กระจาย
                       อยูในอําเภอสันกําแพง อําเภอแมอาย และอําเภอดอยสะเก็ด

                                  พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี
                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง

                       และแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอพราว อําเภอเมืองฝาง และอําเภอเชียงดาว
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา

                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา โดยพิจารณา
                       แหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.2  ลําไย
                              ลําไยจัดเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดเชียงใหม จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกลําไย

                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 336,265 ไร คิดเปนรอยละ 13.45
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมแตง 41,125 ไร อําเภอสันปาตอง 31,207 ไร
                       และอําเภอสารภี 27,553 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 4808,188 ไร คิดเปนรอยละ
                       32.33 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอจอมทอง 97,675 ไร อําเภอฮอด 85,154 ไร
                       และอําเภอฝาง 77,738 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 91,593 ไร คิดเปนรอยละ 3.66

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอกัลยาณิวัฒนา 26,885 ไร อําเภอแมแจม
                       14,668 ไร และอําเภอแมแตง 8,449 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,263,946 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกลําไยในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                                (1)  พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 134,604 ไร คิดเปนรอยละ 40.03 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอสันปาตอง 29,204 ไร อําเภอสารภี 27,362 ไร และอําเภอหางดง 14,643 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 257,484 ไร คิดเปนรอยละ 31.86 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอจอมทอง 54,673 ไร อําเภอพราว 39,568 ไร และ
                       อําเภอดอยเตา 34,202 ไร
                                (3)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 10,975 ไร คิดเปนรอยละ 11.98 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอดอยเตา 3,301 ไร อําเภอดอยหลอ 1,763 ไร อําเภอ
                       ฮอด 1,492 ไร และแมแตง 1,081 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,865 ไร
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24