Page 148 - รายงานการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 148

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

            140    การส�ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ
                   ศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำเขำหินซ้อนอันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรำ




                                                  มวนแดงฝ้ำย


                                         Red Cotton Bug, Cotton Stainer Bug
                                           Dysdercus cingulatu Fabriciuss
                                                  PYRRHOCORIDAE



                                                            หนวดสีด�า  หัวเล็กสีแดงและมีแถบคาดสีขา
                                                            อกและปีกคู่หน้าสีส้ม ปีกมีจุดสีด�า ข้างละหนึ่งจุด
                                                            ปลายปีกสีด�า ท้องสีแดง คาดแถบสีขาว ขาสีด�า
                                                            ตัวอ่อนที่ฟักออก มาใหม่ ๆ มีสีเหลืองแล้วเปลี่ยน
                                                            เป็นสีส้ม เมื่อโตขึ้น

                                                            พฤติกรรม : วางไข่เป็นกลุ่มตามพื้นดิน

                                                            ถิ่นอำศัย :  ป่าละเมาะ ในประเทศไทยพบได้
                                                            ทุกภาค














                                                    มวนล�ำไย


                                                   Longan Stink Bug
                                           Tessaratoma papillosa Drury

                                                 TESSARATOMIDAE


                                                            หนวดสีน�้าตาลเข้ม หัวเล็ก อกและท้อง แบนกว้าง
                                                            หัว อก และปีกสีน�้าตาลอ่อน หรือสีน�้าตาลออก

                                                            เหลือง ขาสีน�้าตาลเข้ม

                                                            พฤติกรรม : ชอบดูดกินน�้าเลี้ยงจากยอดอ่อน
                                                            ช่อดอก  และผลอ่อนล�าไยและลิ้นจี่  พบมาก
                                                            ในเดือนกุมภาพันธ์ถึงกรกฎาคม
                                                            ถิ่นอำศัย  :  ป่าเบญจพรรณ  สวนผลไม้

                                                            ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153